วันอังคารที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2552

EDITORIAL Emergency rule a failure

EDITORIAL Emergency rule a failure

The court decision on the Tak Bai incident shows that security forces truly need to reconsider their actions in the troubled area of the South. The wide attention given to the inquest proves that the southern violence is the nation's most pressing security problem.


The hearings at the Songkhla Provincial Court revealed serious shortcomings in how successive governments, police and army have approached the issues in the four southernmost provinces. The follow-up to the inquest shows that officials still do not "get it" about the deep South and the Thais who live there.

The two-judge panel at Songkhla considered the actions of security forces at the district town of Tak Bai on Oct 25, 2004. There is no serious dispute about the main events of that tragic day. Police and the army used tear gas, batons and then live ammunition to put down an anti-government demonstration in the Narathiwat province town. Officers on the scene, backed by their superiors at various headquarters, insist deadly force was never employed.

Military officers trussed up 1,292 male protesters and loaded hundreds in the back of army trucks for transport to Ingkayuthaborihaan Army Camp in Pattani province. During the long trip, because they were packed so tightly into the trucks, and because they could not move due to their wrist shackles, at least 78 young men suffocated to death. Another seven died, allegedly by beatings and drownings by security forces, although no charges have been filed.

Some of the victims were not even involved in the protest. All had not eaten and were weaker than usual because they were observing the Ramadan fast. To put it another way, all were Muslim. The Thaksin government, and all subsequent governments, have refused to bring charges, or to make any political or security official accountable for the deaths of 85 unarmed, young Thai men. In 2007, the Surayud Chulanont government, under military rule, apologised for the deaths, dropped legal charges against 56 surviving protesters, and gave compensation that amounted to an average of 500,000 baht to each bereaved family.

Last Friday's inquest ruled that security officials were carrying out their duty, and could not be blamed. One of the main points considered by the panel was an emergency law in effect at the time, which protected state officials from any civil, criminal or disciplinary liabilities while carrying out their official duties. Similar emergency laws protect police, army and other security officers today.

But such laws and martial declarations are out of tune with democracy and public expectation. The government or security forces cannot credibly absolve themselves to avoid responsibility. Certainly, people in the South do not intend to live with such a sweeping pre-judgement. Survivors and relatives of the Tak Bai violence likely will file criminal lawsuits, as they have the right to do so in a democratic society, and seek accountability.

The government constantly tries to soothe the public by saying the unrest in the South will soon end. Public reaction seems to give the lie to that.

The region has many problems, and peace is elusive. But southerners continuously perceive a lack of justice by officials in Bangkok, and their local appointees. The recent decision by the government to end all martial law and emergency rule except in the deep South is a case in point. The Democrats promised to examine policy in the South. A rethink of emergency rule should be the first item on that agenda.


Get notified of Google Mail

Get notified of Google Mail

It is far from unanimous, but there is growing opinion that the best mail service now available is Gmail by Google. Earlier this month, Gmail began a new feature which allows users to pick up all mail from their Hotmail accounts, which (if I'm counting correctly) is Reason 387 to switch to Gmail.

GMail Notifier is a well thought-out helper that makes the excellent Google Mail server even better.

Gmail Notifier is an excellent helper for the web-based service, or even if you download Gmail to your own machine.

Google itself has a small program that checks for email and lets you know when new mail arrives. But it has a fatal flaw, in that it will only check one Gmail account.

Now, many of us keep three or seven email addresses for various reasons. For example, it is useful to separate business from home email, and it is also useful (for me, anyhow) to have a third address I can give to businesses and web sites where I have to register, because I know they will be sending me a lot of email I consider to be spammish.

Gmail Notifier is a small program that sits in the Windows tray. It checks one or many Google Mail accounts every two minutes (by default, but changeable) and when it detects new mail it says "new mail" and flashes the tray icon _ or one or none of those, your choice.

The small main menu with its few options is not especially pretty, and it simply lists your Gmail account names and how many active messages are in your inbox of each.

You can add a Gmail account, remove it and order the program to check the mail Right Now by right-clicking on the tray icon. You can also tell the program to start automatically with Windows.

Why use it? Why not just leave a browser window open? Well, first of all, Gmail Notifier uses less than 15KB of memory to check many email accounts, way less than 10 percent of just one average open window in Google Chrome, Internet Explorer or Firefox.

It's also out of the way, but never forgets to check the mail.

The program only works properly on Gmail accounts. There are other good email checkers around, but for Google Mail, this one is excellent.

The program is housed on a simple but informative website at (www.gmailnotifier.com)

AA Footwear to launch brand

AA Footwear to launch brand

AA Footwear Co plans launch its own brand of footwear within five years after more than a decade of importing and manufacturing international brand shoes, such as Geox and Pierre Cardin.

A Geox mascot displays shoes from the new line at a presentation held by AA Footwear yesterday. PHONGTHAI WATTANAVANITVUT

The company has made and exported various kinds of international standard shoes for more than 20 years, said Jane Chongsatitwatana, assistant president at the firm. While AA Footwear continues to enjoy good relations with its business partners, it has the technological capability and manpower to start its own brand, she said.

"We will launch our own brand of leather shoes and bags domestically within the next five years, and export them to international markets at a later date."

At the same time, the company will balance its risk by importing more international brands into Thailand.

It will launch a new imported brand next month.

Currently the company imports and distributes the Geox and Pierre Cardin footwear brands in Thailand.

Sales of Geox in the first four months of this year grew 10%, compared to 20-30% in the same period last year.

"It is the first time in 10 years that we have seen Geox's growth slow. We have grown up to 30% annually for 10 years," she said.

Geox Asia-Pacific director Aldo Somaini said during his visit to Bangkok yesterday that Geox and AA Footwear continued to see opportunities in the Thai market and would open three Geox shops this year.

The new stores will be in Central Pattaya Beach, Outlet Village Phuket and Siam Discovery shopping complex, and were officially opened yesterday.

Geox has 940 exclusive shops worldwide. With 163 shops in Asia alone, which will increase to 200 by the year's end. Business in Thailand ranked fifth in the region after Hong Kong, China, South Korea and Singapore.

Geox is an Italian brand. About 70% of its products in the Thai market are imported, the remaining 30% are made at AA Footwear's King Kaew factory in Samut Prakan.

Thailand is one of only two countries, along with Japan, which has the licence to produce Geox domestically.

highlight

TRANSCENDING PHOTOGRAPHY

Bridging the gap between perception and reality, photographic artist Cameron Wolf will showcase a collection of photographs in "Transcendents" at Mumu Arthouse from Friday, June 5 until July 17. Transcendents explores the bridge between perception and reality, filling the gap between art and spirituality. Wolf looks deeply into the soul of his subjects, their will to survive, and finds dignity and serenity in their lives - even against the norms of society. His exhibition will also make you explore your own transcendence. He has worked for many years in Asia as an advisor to the US Agency for International Development (USAid) in the field of prevention, care and treatment of HIV/Aids. The opening party will be held on Friday at 7pm, featuring a condom fashion show. A local Thai HIV prevention programme, Swing, will benefit from all sales from the exhibition. An after-party will also be held at Raindogs, just a five-minute walk from the gallery. Free admission. Call 08-1286-9676 or visit http://www.mumuarthouse.com.

Hong Kong star says sex photos consensual

Disgraced Hong Kong pop star Edison Chen has said that all the hundreds of sex photos of him with a string of starlets were taken with the women's full consent, in the latest twist to the celebrity saga.

Disgraced Hong Kong pop star Edison Chen, seen here Hong Kong in February, has said that all the hundreds of sex photos of him with a string of starlets were taken with the women's full consent, in the latest twist to the celebrity saga.

In an interview with CNN's Talk Asia, the Canadian-born star said the explicit pictures, which caused a huge scandal when they found their way on to the Internet last year, had been agreed with the stars.

"Everything was mutual. It was all consensual," he said in the interview, which is set to be aired on Wednesday.

"If I have a camera in front of your face and there?s a flash, do you know that I?m taking a photo of you? That?s as simple as it is."

More than 1,300 photos, which show Chen and the starlets in compromising positions, shocked many in the celebrity-obsessed but culturally conservative city and ruined the careers of some of the actresses and singers involved.

Chen apologised to one of the actresses, Cecilia Cheung, who had earlier criticised Chen for not saying sorry.

"I wasn't allowed to talk to her ... because of the police request and they were investigating me, which already had troubled me a lot... I really do feel sorry. I really am sorry to her."

A Hong Kong computer technician was last month jailed for eight-and-a-half months for stealing the photos from Chen's laptop when he sent it in for repairs, but it is still unclear how the pictures made their way onto the Internet.

After appearing online in February last year, the images became one of the most searched-for items in Asia, where Hong Kong celebrities are huge stars.

Soon after Chen, whose albums and film appearances made him one of Asia's biggest entertainment stars, announced his retirement from the Hong Kong entertainment scene and fled to his childhood home of Canada.

"I was afraid to go anywhere. I was travelling around when I was still in Hong Kong in trunks of taxis, literally, just to get to places," he told CNN.

"I had to be in the trunk for 15 minutes. I didn?t even know if I had enough oxygen to be honest with you."

"Even when I had left Asia and I had went to Canada and America, it took me three months to really get out of the shell that I had put myself in. I mean, I was in darkness for five days," he added.

"I had my drapes closed and I didn?t even want to go anywhere."

Post's travel fair opens today

Post's travel fair opens today

Bargains galore on accommodation and spa treatments at domestic resorts

The Bangkok Post Thailand Travel Fair 2009 kicks off today at the Queen Sirikit National Convention Centre and will be open daily until Sunday from 10am to 8pm. Some 100 firms will be manning booths offering hot deals on hotels, spa and travel.

Bandara Resort & Spa, Ko Samui.

A draw will be held on each of the four days with one lucky visitor winning a free stay at the luxurious Sri Panwa Resort in Phuket plus round-trip plane tickets for two. The total value of these four prizes exceeds 500,000 baht!

Here's a few examples of the bargains awaiting you today at the fair:

- The Regent Chalet/Regent Beach Cha-am has a couple of special offers available. The "Fun Filled Holidays" package, priced at 2,900 baht, gives you the choice of either one standard room for two nights or two standard rooms for a single night. And under its "Cheer Up Package", priced at 1,999, you get you a one-night stay in a standard room with buffet breakfast for two. Both packages are valid until November 30.

Franjipani Resort, Hua Hin.

- The Bandara Resort & Spa Samui is offering a one-night stay in a superior room plus breakfast for two for the special promotional rate of 2,500 baht (net). Also, at the Bandara Suites Bangkok, celebrity chef Ken Hom's Maison Chin Restaurant is offering a five-course dinner for 2,200 baht (net) per person. And, for this event only, an extra person dines free for every dinner you purchase.

The Small Hotel & Resort, Krabi.

- Vareena Spa at the Westin Grande Sukhumvit is giving a 50 per cent discount on all its treatments, which include Italian Thermal Stone massages and spa packages like the 210-minute "Day at the Spa").

- Franjipani Resort in Hua Hin has a buy-one-get-one-free offer on its 60-70m2 one-bedroom units. For 4,500 baht (net) you get two nights' accommodation plus breakfast for two people on both days.

Regent Chalet, Cha-am.

- Small Hotel & Resort has a "Krabi Holiday Package" priced at 5,799 baht per person which covers two nights in a studio room with breakfast, airport transfers, one set dinner and an island tour with the option of either lunch or a one-hour massage. The hotel also has a buy-one-get-one-free promotion at both its Krabi and Chiang Mai branches, with room rates starting from 3,000 baht a night in Krabi and from a mere 1,950 baht per night in Chiang Mai.

A CITY REBORN

A CITY REBORN

Berlin rises from the ashes of war to stake its claim for a place among the leading cultural hubs of Europe

Few cities in Germany carry the weight of history like Berlin.

From the time the city was capital of Prussia to the rise and fall of Hitler and his Third Reich, its break-up after World War II and building of the Berlin Wall that ironically ushered in the Cold War during which it found itself and its residents split right down the middle, and until the reunification of East and West Germany, the German capital has been witness to remarkable upheaval and social change.

But like the mythical Phoenix, Berlin has risen from its ashes and once again is staking claim to be a centre of arts and science, and among the leading capitals of Europe that it used to be, before it was consumed by fires of the Second World War.

Air Berlin operates direct flights from Bangkok to Berlin everyday exceptTuesday, while passengers from Phuket can fly to Berlin every Tuesday. Visit www.airberlin.com for further details and reservations.

Since the Berlin Wall came crumbling down in 1989, following the demise of the Soviet empire, that triggered the collapse of similar socialist regimes in Eastern Europe, the city administration has tried to reconcile a society fractured by the presence and domination of foreign powers on its soil and recreate the vibrancy Berlin bubbled with in the years preceding WWII.

One of the biggest obstacles facing city planners after reunification was how to integrate citizens of Berlin's eastern and western sectors, given the disparity in work ethos and salary, not to mention political ideology.

This it has achieved by giving back citizens their long suppressed voices. Freedom of expression and flexibility of movement have provided them a chance to heal their war-scarred memories and restore the city back to its former glory.

Two decades of efforts have witnessed the resurrection of Berlin and the German identity reflected in renewed creativity through works of art and construction of new buildings that are architectural masterpieces in their own right.

The Berlin of today is a cultural hub strewn with sites of historical significance as well as diverse architectural landmarks. Prominently preserved areas with museum clusters serve as repositories of invaluable ancient heritages, while memorial sites stand as a symbol of the city's unique architecture and its bitter past.

Countless exhibitions, art galleries, neo-classical boulevards and towering modern structures are concrete proof of the city coming to terms with the torment and trauma it had to endure during Cold War years.

In Berlin you often see big replicas of bears in colourful shades on street corners. The funny-looking creatures visible all over the city are regarded as a symbol of Berlin, ever since the animal first appeared on the seal of an official correspondence in 1280.


This eye-catching spiral glass architecture on avenue Unter den Linden is an extension of the German Historical Museum, locally called Deutsches Historisches Museum, designed by I. M. Pei, the master architect who created the world-famous Louvre Pyramid in Paris.


The Museum Island is a cluster of historic world-class art galleries on the northern half of the Spree Island which Unesco declared a World Heritage site in 1999. The first of five to be built on this island was the Altes Museum designed by Karl Friedrich Schinkel between 1823-30. Fashioned in traditional Greek style, the grand front of this rectangular-shaped structure is graced by 18 indented ionic columns, wide foyer and an outdoor staircase flanked by two elegant statues, as well as a rotunda that reflects the architecture of the Roman Pantheon.


Severely damaged during the World War II, the reconstructed building houses a priceless collection of classical antiques on its main floor, while a variety of ancient Egyptian artefacts are displayed on its upper floor. At the heart of the Egyptian exhibition is the bust of Queen Nefertiti, the chief consort of Pharaoh Akhenaten who ruled Egypt over 3,000 years ago, which serves as a major attraction at the museum.This well-preserved artwork, now lacking one eye, represented the epitome of beauty back in 1340 BC, with its harmoniously proportioned facial features and beautifully sculpted figure.


The Pergamon Museum was constructed between 1910-30 by Ludwig Hoffman and designed by Alfred Messel. This latest highlight of Museum Island is renowned for its architecturally impressive reconstruction of ancient monuments, icons and statues that have been restored to make them look as close to their original form and size as possible. The complex is subdivided into three departments. The Collection of Classical Antiquities focuses on reconstruction of monuments as well as artworks from the once mighty Greek and Roman empires, its highlight being the 40-feet Pergamon Altar whose strikingly life-like frieze around the base depicts battling gods and giants.


This amazing section also contains a Roman-era gateway or the Market Gate of Miletus. Embellished with an ornate facade which has been reassembled using original pieces with a few new additions, the dainty structure has become a landmark of Roman archaeological treasures inside the museum.


Adjacent to the Altes Museum is the Berlin Cathedral, a majestic religious landmark built on the orders of Kaiser Wilhelm II in 1894 to replace an old church that stood on the site. The emperor didn’t only want this grandiose structure to function as his main Protestant church, but also to convey his political power and Germany’s rising clout in international affairs. The cathedral was greatly damaged by a direct hit during the Second World War and it was not until 1975 that the East German government approved a major reconstruction that took 18 years to complete.


The Museum of the Ancient Near East documents more than 6,000 years of longgone civilisations in Mesopotamia, Syria, Babylonia and Anatolia, dazzling visitors with exquisite architectural reconstruction of the colourful Ishtar Gate dating from 580 BC which was rebuilt from glazed fragments of baked bricks.


Set in the southern wing of the museum is the Museum of Islamic Art where many distinctive pieces from the 8th to 19th century are safely kept. The highlight of this section is the Mshatta facade, a huge elaborately adorned portion of an early Islamic desert palace that was a gift from the Ottoman Sultan, Abdul Hamid II, to Emperor Kaiser Wilhelm II of Germany.


Standing inside the church, one is amazed by its rich interior decoration. Notable items inside this towering dome range from the large, splendid Sauer Organ and the fine pulpit to the main altar whose beautifully painted windows and glistening gilt screen showcasing the 12 apostles are stunningly illuminated by natural sunlight piercing through the picturesque stained-glass ceiling.


This familiar tourist icon at the western end of avenue Unter den Linden is the Brandenburg Gate, the only remaining town gate in the city of Berlin. The entire arch was destroyed during World War II and subsequently restored in the late 1950s. From 1961-89, the Berlin Wall blocked access to the gate to both East and West German citizens wanting to cross to the other side. The gate, or Arch of Triumph, opened to public again on December 22 following the reunification of East and West Berlin.


The sheet of glass flush at the Bebelplatz is a truly unique memorial constructed in the late 1990s as a reminder of the traumatic event of May 10, 1933 when Germany’s socialist movement gathered here and put to torch over 20,000 books penned by 400 authors. The objective was to destroy source of knowledge and ideas that, according to the extreme belief of these revolutionaries, did not fit their concept of an utopian state they had envisioned for Germany. The empty white shelves in the underground library symbolise the irreplaceable loss of intellectual heritage that day.


This talented man spotted in front of the Pergamon Museum captured the attention of every passer-by with melodious sound emanating as he rubbed and massaged the rims of crystal glasses with his fingers.


Every Saturday and Sunday from around 10am to 4pm, this spacious area next to the German Historical Museum turns into an exciting shopping hub featuring chic craftworks ranging from vivid paintings, charming home decors, stylish accessories and creative 3D postcards to magnificent stained-glass artworks and screen printed T-shirts. If you’re looking for some quaint souvenirs to remind you of Berlin, this Art & Handicraft Market is definitely worth a stroll.


One of Berlin’s most iconic architectures, the Kaiser Wilhelm Memorial Church and its prominent additions sit in the heart of the Breitscheidplatz. The original church was hit by Allied raid in 1943. Parties involved in its redevelopment agreed to leave the damaged spire as a painful memorial to the bloody war. The new buildings comprising of octagonal blue church and soaring hexagonal tower constructed in contemporary glass-and-concrete design were later incorporated into the old wrecked structure.


A warm and clear spring day in the bustling German capital also has its moment of peace that is relaxing indeed as you wind down in corners lush as such, reinforced by the magnificence of grand architectural backdrops.

Japan officials promote hip home

Japan's grey-suited bureaucrats have teamed up with a blue cartoon cat and Tokyo fashionistas sporting 'Gothic Lolita' urban chic in an official drive to promote hip Japan around the world.

Feline Japanese cartoon character "Doraemon", who has been appointed as the nation's first Anime Ambassador, with Foreign Minister Masahiko Komura and cartoon character "Nobita"

Long famed for its cars and high-tech goods, the world's number two economy has stepped up an official campaign to promote its cultural offerings, from Tokyo city wear to video games and award-winning animation films.

Prime Minister Taro Aso -- an avowed fan of Japan's manga comics -- has thrown his enthusiastic support behind the drive to earn hearts, minds and hard cash by promoting the soft power of "cool Japan" overseas.

His conservative government has earmarked 11.7 billion yen (118 million dollars) for a museum on Japanese cartoon art and pop culture to be built in Tokyo that one English-language daily has dubbed the "anime shrine".

"It will be a centre that allows visitors to see and collect information on Japan's manga, anime, video games and media art," said Akira Shimizu, who heads the arts division at the government's cultural affairs agency.

The museum, to be built in coming years, pending parliamentary approval, is part of Aso's plan to grow Japan's cultural exports into an industry worth 20 to 30 trillion yen (200 to 300 billion dollars) by 2020.

"The word 'manga' has entered the global lexicon," Aso said as he outlined the plan last month. "Japan has materials that attract consumers around the world such as animation, games, fashion -- so-called 'Japan Cool'."

Much of Japanese pop culture has already won fans across Asia and around the world in recent years -- from classic manga characters like Astroboy and video game figures such as the Mario Brothers and Pokemon to Oscar-winning animation movies like Hayao Miyazaki's 2004 film "Howl's Moving Castle."

Manga comics -- an industry worth 4.6 billion dollars in Japan last year, according to the private Research Institute for Publications -- have long ago gone global and have won a cult following in the West.

Not all of Japan's cultural exports have won praise. Some manga comics are notorious for featuring extreme violence and sexual themes, and a video game in which players stalk and rape women has sparked outrage this year.

The government has picked the far more family friendly cartoon characters to promote Japan, and last year appointed robotic hero cat 'Doraemon' as the nation's first "Anime Ambassador".

The foreign ministry has also supported a world summit of cosplay -- short for "costume play", a subculture with a global cult following where hobbyists dress as 'Gothic Lolitas' and other often manga-inspired characters.

This year, the ministry chose three women to represent the "Lolita", "Harajuku" and "School Uniform" styles of Tokyo fashion and sent them off into the world as so-called New Trend Communicators of Japanese Pop Culture.

Takehiko Yamamoto, a professor of international politics at Waseda University, supported Japan's manga diplomacy.

"Japan has been too quiet... and hardly made itself felt" on the world stage, he said, adding that anime and manga are "one of the few ways in which Japan can exert influence on other countries".

French ภาษาฝรั่งเศส

ภาษาฝรั่งเศส (ฝรั่งเศส: français, อังกฤษ French) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2542 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาภาษาแม่ (ฟรองโกโฟน) ประมาณ 77 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 128 ล้านคน

ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และ สหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไทย

ประวัติ

ยุคเริ่มแรก

ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์ กล่าวคือ เป็นภาษาที่มีต้นกำเนิดจากภาษาละตินที่พูดกันในจักรวรรดิโรมันโบราณ ก่อนหน้าที่ดินแดนที่เป็นที่ตั่งประเทศฝรั่งเศสในปัจจุบันจะอยู่ใต้การ ปกครองของโรมัน ดินแดนดังกล่าวเคยอยู่ใต้การปกครองของพวกกอล ซึ่งเป็นหนึ่งในชนชาติเซลต์ ในสมัยนั้นดิินแดนประเทศฝรั่งเศสมีคนที่พูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กันหลายภาษา แม้ว่าชาวฝรั่งเศสจะชอบสืบที่มาของภาษาของตนไปถึงพวกกอล (les Gaulois) แต่มีคำในภาษาฝรั่งเศสเพียง 2,000 คำเท่านั้นที่มีที่มามาจากภาษาของพวกกอล ซึ่งโดยมากจะเป็นคำที่ใช้เป็นชื่อสถานที่ หรือเป็นคำที่มีความหมายเกี่ยวกับธรรมชาติ

หลังจากที่ชาวโรมันได้เข้ามายึดดินแดนของพวกกอล คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นก็ได้เปลี่ยนมาพูดภาษาละติน ซึ่งภาษาละตินที่พูดกันในบริเวณนี้ ไม่ใช่ภาษาละตินชั้นสูงแบบที่พูดกันในหมู่ชนชั้นสูงของกรุงโรม แต่เป็นภาษาละตินของชาวบ้าน (vulgar latin) ที่พูดกันในหมู่พลทหาร นอกจากนี้ ภาษาละตินที่พูดกันอยู่ในฝรั่งเศสนั้น ก็ได้รับอิทธิพลจากภาษากอลอยู่พอควร เนื่องจากสิ่งของบางอย่างที่ใช้กันอยู่ในกอล พวกโรมันไม่มีชื่อเรียก จึงต้องขอยืมคำในภาษากอลมาเรียกสิ่งของเหล่านั้น เช่น les braies ซึ่งแปลว่าเครื่องแต่งกายจำพวกกางเกงของชาวกอล


ยุคอาณาจักรแฟรงก์

หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 3 เป็นต้นมา จักรวรรดิโรมันก็เสื่อมอำนาจ ดินแดนหลายส่วนของจักรวรรดิโรมันตกอยู่ในเงื้อมมือของชนเผ่าป่าเถื่อนหลาย พวก ชนเผ่าป่าเถื่อนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนที่เป็นประเทศฝรั่งเศสปัจจุบัน ได้แก่ ชนเผ่าแฟรงก์ที่อาศัยอยู่ทางเหนือ ชนเผ่าวิซิกอทที่อาศัยอยู่ทางใต้ ชนเผ่าเบอร์กันดีในบริเวณริมแม่น้ำโรน และชนเผ่าเอลแมนที่อาศัยอยู่บริเวณพรมแดนของประเทศฝรั่งเศสและเยอรมนี ชนเผ่าป่าเถื่อนเหล่านี้พูดภาษาในกลุ่มภาษาเยอรมนิก สำเนียงของชนเหล่านี้ได้ส่งผลต่อภาษาละตินที่เคยพูดอยู่เดิมในฝรั่งเศส และคำจากภาษาของชนป่าเถื่อน ได้แก่ คำที่มีความหมายเกี่ยวกับยุทธวิธีในการรบ และชนชั้นทางสังคม ได้ถูกนำมาใช้ในภาษาละตินที่พูดกันอยู่ในฝรั่งเศส โดยภาษาฝรั่งเศสปัจจุบันมีคำที่มีที่มาจากคำในภาษาของชนป่าเถื่อนอยู่ราว ๆ ร้อยละ 15


ภาษาฝรั่งเศสในยุคกลาง

นักภาษาศาสตร์ได้จัดจำแนกภาษาฝรั่งเศสที่พูดกันในยุคกลางออกเป็น 3 จำพวก คือ พวกแรกคือภาษาที่เรียกกันว่า Langue d'Oïl พูดกันอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ พวกที่สองคือ Langue d'Oc ที่พูดกันอยู่ทางใต้ของประเทศ และพวกที่สามคือ Franco-Provençal ซึ่งเป็นการผสมผสานกันของสองภาษาแรก

Langue d'Oïl เป็นภาษาที่ใช้คำว่า oïl ในคำพูดว่า "ใช่" (ปัจจุบันใช้คำว่า oui) ในสมัยกลางภาษานี้จะพูดกันในตอนเหนือของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งภาษานี้ได้พัฒนามาเป็นภาษาฝรั่งเศสในปัจจุบัน

Langue d'Oc เป็นภาษาที่ใช้่คำว่า oc ในคำพูดว่า "ใช่" ภาษานี้พูดกันอยู่ทางตอนใต้ของฝรั่งเศสและทางเหนือของสเปน ซึ่งภาษานี้จะมีลักษณะคล้ายกับภาษาละตินมากกว่า Langue d'Oïl

ภาษาฝรั่งเศสยุคใหม่

นักวิชาการเรียกภาษาฝรั่งเศสที่พูดในช่วงก่อนหน้าปี พ.ศ. 1843 ซึ่งก็คือภาษา Langue d'Oïl ว่าเป็นภาษาฝรั่งเศสโบราณ เอกสารฉบับแรกที่เขียนขึ้นเป็นภาษาฝรั่งเศสโบราณ คือ "คำปฏิญาณแห่งทรัสบูร์ก" (Strasbourg) ซึ่งเขียนขึ้นในปี พ.ศ. 1385

ในปี พ.ศ. 2082 พระเจ้าฟรองซัวที่ 1 ได้ออกพระราชกฎษฎีกาที่กำหนดให้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการของฝรั่งเศสแทน ที่ภาษาละติน และกำหนดให้ใช้ภาษาฝรั่งเศสในการบริหารราชการ ในราชสำนัก และในการพิจารณาคดีในศาล ในช่วงนี้ได้มีการปรับปรุงตัวสะกดและการออกเสียงในภาษาฝรั่งเศส นักวิชาการเรียกภาษาฝรั่งเศสในยุคนี้ว่า ภาษาฝรั่งเศสยุคกลาง ในศตวรรษที่ 17 หลังจากที่มีการกำหนดมาตรฐานภาษาฝรั่งเศสให้พูดสำเนียงเดียวกันทั่วประเทศ การปรับปรุงและการกำหนดหลักต่างๆ ของภาษา ก็ทำให้เกิดภาษาฝรั่งเศสที่เรียกกันว่าภาษาฝรั่งเศสยุคใหม่ ซึ่งพูดกันอยู่ในปัจจุบัน

ในปี พ.ศ. 2177 พระคาร์ดินัลรีเชอลีเยอ (Richelieu) ได้ก่อตั้งองค์กรที่เรียกว่า L'Académie Française (อากาเดมี ฟรองแซส หรือ วิทยสถานแห่งประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเปรียบได้กับราชบัณฑิตยสถานของไทย) เพื่อทำหน้าที่ดูแลรักษาภาษาฝรั่งเศสไว้ไม่ให้วิบัติ และคงภาษาฝรั่งเศสให้อยู่ในรูปแบบเดิมให้มากที่สุด หน้าที่สำคัญหน้าที่หนึ่งขององค์กรนี้ คือ การออกพจนานุกรม

ในช่วงศตวรรษที่ 17-19 ฝรั่งเศสได้มีบทบาทสำคัญในการเมืองของทวีปยุโรป และเป็นศูนย์กลางของปรัชญารู้แจ้งที่แพร่หลายกันอยู่ในสมัยนั้น ทำให้อิทธิพลของภาษาฝรั่งเศสแผ่ออกไปกว้างขวางและกลายเป็นภาษากลางของยุโรป มีบทบาทสำคัฐทางการทูต วรรณคดี และศิลปะ มหาราชในยุคนั้นสองพระองค์ คือ พระนางแคทเธอรีนมหาราชินีแห่งรัสเซีย และพระเจ้าเฟรดริกมหาราชแห่งปรัสเซีย สามารถตรัสและทรงพระอักษรเป็นภาษาฝรั่งเศสได้ดี

ภาษาฝรั่งเศสในปัจจุบัน

ภาษาฝรั่งเศสในปัจจุบัน ถูกแทรกซึมโดยอิทธิพลของภาษาอังกฤษที่แผ่ขยายอย่างกว้างขวาง มีการนำคำภาษาอังกฤษมาใช้่ปะปนกับภาษาฝรั่งเศสเดิมอย่างแพร่หลาย ซึ่งมีผลเสียต่อการอนุรักษ์ภาษาฝรั่งเศส รัฐบาลได้ออกกฎหมายบางฉบับเพื่ออนุรักษ์ภาษาฝรั่งเศส โดยกำหนดให้ใช้คำจากภาษาฝรั่งเศสแท้ๆ ในโฆษณา ประกาศ และเอกสารราชการต่าง ๆ นอกจากนี้ยังกำหนดให้สถานีวิทยุทุกสถานี เปิดเพลงภาษาฝรั่งเศสอย่างน้อยร้อยละ 40 ของเพลงทั้งหมดที่เปิดในสถานีนั้น

สถานะของภาษาฝรั่งเศสในประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสกำหนดให้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการของประเทศตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 รัฐบาลกำหนดให้เอกสารราชการ สัญญาต่าง ๆ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ การศึกษา จะต้องทำเป็นภาษาฝรั่งเศส หากจำเป็นต้องใช้คำภาษาต่างประเทศ ก็ให้ใส่คำแปลเป็นภาษาฝรั่งเศสควบคู่กันไปด้วย

อย่างไรก็ดี ทางการไม่ได้ควบคุมการใช้ภาษาในเอกสารของเอกชน และในเว็บไซต์ของเอกชน ซึ่งหากทำการควบคุมแล้ว ก็อาจขัดต่อหลักการเสรีภาพในการพูดได้

สถานะของภาษาฝรั่งเศสในประเทศแคนาดา
ร้อยละ 12 ของคนที่พูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ในโลกนี้เป็นชาวแคนาดา และภาษาฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในภาษาราชการสองภาษาของแคนาดา (อีกภาษาหนึ่งคือภาษาอังกฤษ) กฎหมายของแคนาดากำหนดให้บริการต่างๆของรัฐบาลกลางจะต้องจัดให้เป็นสองภาษา เสมอ กฎหมายต่างๆ ที่ผ่านรัฐสภา จะต้องแปลเป็นภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และฉลากผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่วางขายในแคนาดาจะต้องมีภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส ร้อยละ 22 ของชาวแคนาดาใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ และร้อยละ 18 ของชาวแคนาดาสามารถพูดได้ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส

ภาษาฝรั่งเศสมีสถานะเป็นภาษาราชการเพียงภาษาเดียวของรัฐควิเบก (เกเบก - Québec) มาตั้งแต่การบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยภาษาฝรั่งเศส (Bill 101) ผลสำคัญข้อหนึ่งของกฎหมายฉบับนี้คือกำหนดให้เด็กในควิเบกต้องได้รับการศึกษา เป็นภาษาฝรั่งเศส ยกเว้นถ้าบิดามารดาของเด็กคนนั้นได้รับการศึกษาส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษภายใน ประเทศแคนาดา ซึ่งเป็นการทำลายค่านิยมของผู้อพยพที่มักส่งบุตรหลานของคนเข้าเรียนใน โรงเรียนที่สอนเป็นภาษาอังกฤษ กฎหมายนี้ยังกำหนดให้ใช้ภาษาฝรั่งเศสในการพิจารณาคดี โฆษณา การอภิปรายในสภา และการพิจารณาคดีในศาล ภายในควิเบก ในปี พ.ศ. 2536 กฎหมายนี้ได้รับการแก้ไข โดยอนุญาตให้เขียนป้ายสัญลักษณ์หรือโฆษณาต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษได้บ้าง ตราบใดที่ยังมีภาษาฝรั่งเศสเป็นส่วนมาก นอกจากนี้ยังทำให้คนที่พูดภาษาอังกฤษแต่อาศัยในควิเบกสามารถรับบริการทาง สุขภาพและบริการของรัฐเป็นภาษาอังกฤษได้

รัฐอื่น ๆ ที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการควบคู่ไปกับภาษาอังกฤษ ได้แก่รัฐนิวบรันสวิก ยูคอนเทร์ริทอรี นอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีีส์ และนูนาวุต ในรัฐออนแทรีโอ และแมนิโทบา ภาษาฝรั่งเศสไม่ได้มีสถานะเป็นภาษาราชการ แต่รัฐบาลของรัฐทั้งสองรัฐได้จัดการบริการต่าง ๆ เป็นภาษาฝรั่งเศสคู่กับภาษาอังกฤษ ในบริเวณที่มีคนที่พูดภาษาฝรั่งเศสอาศัยอยู่มาก

world

English-Thai: NECTEC's Lexitron Dictionary
world [N] โลก Syn. globe; Earth Related. โลกมนุษย์ world [N] ชาวโลก Syn. humanity; humankind; human race Related. มนุษย์โลก, มนุษยชาติ world [N] สังคมมนุษย์ world [N] ทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิตของคนคนหนึ่ง world [ADJ] ของโลก Related. แห่งโลก
Thai-English: NECTEC's Lexitron Dictionary
โลก [N] world Related. earth พิภพ [N] world Syn. โลก, พื้นพิภพ, ปฐพี Related. globe Sample: ้ชื่อเสียงความเก่งกาจในการรบของเขาก้องไปทั่วพิภพ โลกา [N] world Syn. โลก Related. earth Sample: สรรพสิ่งในโลกาล้วนสูญสลายเมื่อถึงกาลเวลา มนุษยโลก [N] world Syn. โลกมนุษย์, โลก Related. earth Def. ที่อยู่ของมนุษย์ Sample: พระศาสดาสอนมนุษยโลกให้ปฏิบัติธรรมต่อกันเพื่อความเจริญและความสงบสุขของมวลมนุษย์ ภพ [N] world Syn. โลก, แผ่นดิน, วัฏสงสาร, ชาติ Def. โลกหรือแผ่นดิน (ทางศาสนา) Sample: การสะสมผลบุญเพื่อความสุขความเจริญทั้งในภพนี้ และภพหน้า จะช่วยให้พ้นทุกข์โศก
คำศัพท์ พร้อมความหมาย และตัวอย่างประโยค จาก Voice of America
world the earth Sample: Communication satellites let us talk almost instantly to people in any part of the world. world the people who live on the earth Sample: Most of the world wants an end to nuclear weapons.

เยอรมัน Deutsch ดอยทช์

ภาษาเยอรมัน (เยอรมัน: Deutsch ดอยทช์ ฟังเสียง , อังกฤษ: German) เป็นภาษากลุ่มเจอร์เมนิกด้านตะวันตก และเป็นภาษาหนึ่งที่มีคนพูดมาก เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในสหภาพยุโรป ส่วนใหญ่พูดในประเทศเยอรมนี ออสเตรีย ลิกเตนสไตน์ ส่วนมากของสวิตเซอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจในอิตาลี แคว้นทางตะวันออกของเบลเยียม บางส่วนของโรมาเนีย แคว้นอาลซาซและบางส่วนของแคว้นลอแรนในฝรั่งเศส

นอกจากนี้ อาณานิคมเดิมของประเทศเหล่านี้ เช่น นามิเบีย มีประชากรที่พูดภาษาเยอรมันได้พอประมาณ และยังมีชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษาเยอรมันในหลายประเทศทางยุโรปตะวันออก เช่น รัสเซีย ฮังการี และสโลวีเนีย รวมถึงอเมริกาเหนือ (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) รวมถึงบางประเทศในละตินอเมริกา เช่น อาร์เจนตินา และในบราซิล โดยเฉพาะในรัฐ รีโอกรันดีโดซูล ซันตากาตารีนา ปารานา และเอสปีรีตูซันตู

ชาวอามิช รวมถึงชาวเมนโนไนต์บางคนก็เป็นภาษาเยอรมันอย่างหนึ่ง ประมาณ 120 ล้านคน คือ 1/4 ของชาวยุโรปทั้งหมด พูดภาษาเยอรมัน ภาษาเยอรมันเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนทั่วโลกมาเป็นอันดับ 3 และเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในยุโรป (เป็นรองภาษาอังกฤษ) สหรัฐอเมริกา และเอเชียตะวันออก (ประเทศญี่ปุ่น) เป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรป

หลักทั่วไป

1. สระ ให้ถอดตามการออกเสียงในพจนานุกรมภาษาเยอรมัน โดยเทียบเสียงสระภาษาไทยตามตารางเทียบเสียงสระภาษาเยอรมัน เช่น

Vater = ฟาเทอร์
Berg = แบร์ก
2. พยัญชนะ ให้ถอดเป็นพยัญชนะไทยตามหลักเกณฑ์ในตารางเทียบเสียงพยัญชนะภาษาเยอรมัน เช่น

Karl = คาร์ล
Boot = โบท
3. สระที่ซ้อน 2 ตัว หรือสระที่มี h ตาม จะมีเสียงยาว เช่น

Haar = ฮาร์
Tee = เท
Lohn = โลน
Stuhl = ชตูล
4. สระที่ตามด้วยพยัญชนะซ้อน เป็นเสียงสั้น เช่น

Mann = มันน์
Mutter = มุทเทอร์
5. สระ e เมื่ออยู่ท้ายคำ ถอดเป็นเสียง เออ เช่น

Rose = โรเซอ
6. ตัวอักษรภาษาเยอรมันในการเขียนตัวย่อ ใช้ดังนี้

A = อา B = เบ C = เซ
D = เด E = เอ F = เอฟ
G = เก H = ฮา I = อี
J = ยอท K = คา L = เอล
M = เอ็ม N = เอ็น O = โอ
P = เพ Q = คู R = แอร์
S = เอส T = เท U = อู
V = เฟา W = เว X = อิกซ์
Y = อึบซิลอน Z = เซท

7. หลักเกณฑ์อื่น ๆ เช่น การใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต ไม้ไต่คู้ เครื่องหมายวรรณยุกต์ ให้ถือตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาอังกฤษ

ภาษาจีน 汉语

ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มซิโน-ทิเบตัน ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง"

ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาราชการ 4 ภาษาราชการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามาเลย์ และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาราชการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส)

นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ

ภาษาพูดของจีนแผนที่ ด้านขวาแสดงพื้นที่ที่มีประชาชนพูด ทั้งภาษาและสำเนียงภาษาจีนต่างกันในประเทศจีน โดยพื้นฐาน เราอาจแบ่งกลุ่มภาษาจีนออกเป็น 7 กลุ่มใหญ่ๆ ตามจำนวนประชากรที่พูดได้ ดังนี้

แมนดาริน (จีนตัวเต็ม: 官話, จีนตัวย่อ: 官话, พินอิน: Guānhuà กวานฮว่า, คำแปล: ภาษาทางการ) หรือ สำเนียงทางเหนือ (จีน: 北方方言, พินอิน:Běifāngfāngyán เป่ยฟังฟังเอี๋ยน)
อู๋ (จีนตัวเต็ม: 吳方言, จีนตัวย่อ: 吴方言, พินอิน: Wú fāng yán อู๋ฟางเอี๋ยน, คำแปล: สำเนียงอู๋) หรือ (จีนตัวเต็ม: 吳語, จีนตัวย่อ: 吴语, พินอิน: wú yǔ อู๋อวี่, คำแปล: ภาษาอู๋) ในมณฑลเจียงซู
กวางตุ้ง (จีนตัวเต็ม: 粵語, จีนตัวย่อ: 粤语, พินอิน: Yue yǔ เยว้-อวี่, คำแปล: ภาษากวางตุ้ง)
ฮกเกี้ยน หรือ หมิ่น (จีนตัวเต็ม: 閩方言, จีนตัวย่อ: 闽方言, พินอิน: Mǐnfāngyán หมิ่นฟางเอี๋ยน, คำแปล: สำเนียงหมิ่น) ในมณฑลฝูเจี้ยนหรือฮกเกี้ยน
เซียง (จีนตัวเต็ม: 湘語, จีนตัวย่อ: 湘语, พินอิน: Xīang yǔ เซียงอวี่, คำแปล: ภาษาในมณฑลหูหนาน)
แคะ (จีนตัวเต็ม: 客家話, จีนตัวย่อ: 客家话, พินอิน: Kèjiāhuà เค้อเจียฮว่า, คำแปล: ภาษาแคะ) หรือ ฮักกา
กั้น (จีนตัวเต็ม: 贛語, จีนตัวย่อ: 赣语 กั้นอวี่, คำแปล: ภาษามณฑลเจียงสี)
นอกจากนี้ นักภาษาศาสตร์ยังได้แบ่งกลุ่มภาษาจีนออกมาจากกลุ่มใหญ่ข้างบนอีก 3 ประเภท ได้แก่

จิ้น (จีนตัวเต็ม: 晉語, จีนตัวย่อ: 晋语, พินอิน: Jìnyǔ จิ้นอวี่) แยกมาจาก แมนดาริน
ฮุย (จีนตัวเต็ม: 徽語, จีนตัวย่อ: 徽语, พินอิน: Huīyǔ ฮุยอวี่) หรือ (จีนตัวเต็ม: 徽州話, จีนตัวย่อ: 徽州话, พินอิน: Huīzhōuhuà ฮุยโจวฮว่า) แยกมาจาก อู๋
ผิง (จีนตัวเต็ม: 平話, จีนตัวย่อ: 平话 , พินอิน: Ping yǔ ผิงอวี่) แยกมาจาก กวางตุ้ง

ภาษาญี่ปุ่น 日本語, นิฮงโงะ

ภาษาญี่ปุ่น (日本語, นิฮงโงะ ฟังเสียง ) เป็นภาษาราชการ ของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่าง ๆ

คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสตศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ)

สถานะทางภูมิศาสตร์
ปัจจุบันภายในประเทศนอกจากจะมีการพูดภาษาญี่ปุ่นกันเป็นหลักอยู่แล้ว ก็ยังมีปรากฏอยู่บ้างภายนอกประเทศ อาทิเช่นจีนแผ่นดินใหญ่ คาบสมุทรเกาหลี และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกก็มีการใช้ภาษาญี่ปุ่นด้วย อันเป็นผลมาจากการที่ทางรัฐบาลญี่ปุ่น บังคับสอนภาษาญี่ปุ่นให้แก่พวกเขาในช่วงก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 นอกจากนี้แล้ว ยังมีผู้อพยพและลูกหลานของชาวญี่ปุ่น ซึ่งได้อพยพไปสู่ทวีปอเมริกา เช่นประเทศสหรัฐอเมริกา ฮาวาย เปรู อาร์เจนตินา บราซิล ชิลี หลังสงครามอีกจำนวนหนึ่งที่ยังคงสามารถพูดภาษาญี่ปุ่นได้อยู่ ถึงแม้ว่าลูกหลานของพวกเขาจะไม่สามารถพูดภาษาญี่ปุ่นได้ก็ตาม

สถานะทางราชการ
ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาราชการของประเทศด้วยความนิยม ซึ่งเป็นประเทศเดียวในโลกที่มีภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาราชการเต็มตัว (ไม่มีการใช้ภาษาต่างประเทศในวงราชการ) ภาษาญี่ปุ่นมีแบบภาษาที่เรียกกันว่ามาตรฐาน 2 แบบ คือ เฮียวจุงโงะ (標準語, hyōjungo?, ภาษามาตรฐาน) ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้กันโทรทัศน์ และ เคียวซือโงะ (共通語, kyōtsūgo? ภาษาร่วม) ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้กันอย่างไม่เป็นทางการ

สำเนียงท้องถิ่น
ภาษาญี่ปุ่นมีสำเนียงท้องถิ่นมากมายดั่งเช่นประเทศอื่นๆในโลก โดยสามารถแบ่งออกเป็นใหญ่ๆได้ 3 ประเภท คือ

แบบโตเกียว หรือ โตเกียวชิกิ (東京式) สำเนียงทางการ ซึ่งพูดกันในฝั่งตะวันออก หรือ ฮิงาชินิฮ่ง (東日本) ของญี่ปุ่น
แบบเคฮัง หรือ เคฮังชิกิ (京阪式) ซึ่งพูดกันในฝั่งตะวันตก หรือ นิชินิฮ่ง (西日本) และ
แบบคิวชู ซึ่งบางครั้งจะยุบรวมกับแบบเคฮัง เนื่องจากเป็นเป็นส่วนหนึ่งของนิชินิฮ่ง
ในปัจจุบันประเทศญี่ปุ่นไม่จัดว่าสำเนียงแบบโตเกียวเป็นสำเนียงกลาง อย่างเป็นทางการ เนื่องจากนโยบายของประเทศที่ว่าต้องการอนุรักษ์สำเนียงต่างๆไว้ เช่น การผสมผสานสำเนียงภาษาของแต่ละท้องถิ่นเข้าไปในสื่อและรายการโทรทัศน์ของ ญี่ปุ่น ดังนี้ จึงทำให้คนญี่ปุ่น เมื่อเดินทางไปยังถิ่นภูมิภาคอื่น ก็ยังคงพูดภาษาของถิ่นตนเองดังเดิม โดยไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนเป็นพูดภาษากลาง

เหล่านี้สามารถเห็นได้ชัดในนักแสดงชาวภูมิภาคคันไซญี่ปุ่น ซึ่งส่วนมากเป็นนักแสดงตลก เมื่อเดินทางไปทำงานที่โตเกียว พวกเขาก็ยังคงพูดภาษาถิ่นคันไซของพวกเขาอยู่ดั่งเดิม โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง จึงให้เกิดรสนิยมที่ว่าดาราตลกญี่ปุ่นต้องพูดภาษาคันไซ สาเหตุที่ทำให้เกิดสิ่งเช่นนี้ก็น่าจะมาจากการออกเสียงของสำเนียงคันไซ ซึ่งฟังดูไม่ลื่นไม่ไพเราะเหมือนถิ่นอื่น กลับกันถ้า นักแสดงละคร หรือดารานักร้อง พวกเขาจะไม่นิยมคนที่พูดสำเนียงคันไซเลย

สำเนียงญี่ปุ่นสามารถแบ่งออกได้เป็นดังนี้
ญี่ปุ่นตะวันออก
สำเนียงฮอกไกโด
สำเนียงโทโฮะกุ หรือ สำเนียงภาคอีสานของญี่ปุน (ได้รับอิทธิพลทั้งแบบตะวันตกและแบบตะวันออก)
สำเนียงคันโต
สำเนียงโทไกโทซัง หรือ สำเนียงนิชิคันโต (คันโตตะวันตก)
สำเนียงฮัจจิโจว

ญี่ปุ่นตะวันตก
สำเนียงโฮะกุริกุ
สำเนียงโทไกโทซัง
สำเนียงคิงกิ หรือ สำเนียงคันไซ (สำเนียงที่นิยมกันในหมู่ดาราตลกญี่ปุ่น)
สำเนียงจูโงะกุ
สำเนียงอุงบะกุ
สำเนียงชิโกะกุ
สำเนียงคิวชู หรือ สำเนียงแบบคิวชู

ตัวอักษร
เราจำแนกตัวอักษรญี่ปุ่นออกเป็นสองจำพวก คือ กลุ่มตัวอักษรที่ใช้แทนเสียง ซี่งได้แก่ ฮิระงะนะ และ คะตะคะนะกับ กลุ่มตัวอักษรที่แสดงความหมาย ที่เรียกว่า คันจิ โดยใช้ร่วมกับตัวเลขอารบิก และตัวอักษรโรมัน ซึ่งจะมีความหลากหลายมากกว่าภาษาที่ใช้ในประเทศใกล้เคียง เช่น ภาษาจีนซึ่งใช้ตัวอักษรจีน เป็นหลัก ส่วนภาษาเกาหลีก็จะใช้อักษรฮันกึลเป็นหลัก

เนื่องจากตัวคันจิซึ่งญี่ปุ่นรับมาจากภาษาจีนมีจำนวนมาก บางครั้งมีการใช้ตัวอักษรที่คนส่วนใหญ่ไม่ทราบ กระทรวงศึกษาธิการของรัฐบาลจึงได้กำหนดมาตรฐานของตัวคันจิ ซึ่งเรียกว่า โจโยคันจิ ประกอบด้วยตัวอักษร 1,945 ตัว เป็นตัวคันจิที่คนญี่ปุ่นทั่วไปทราบกันดี โดยไม่จำเป็นต้องเขียนคำอ่านกำกับ

โครงสร้างประโยคพื้นฐาน
ลำดับของคำในประโยคภาษาญี่ปุ่นคือ ประธาน กรรม และกริยา โดยประธาน กรรม และส่วนอื่นๆในประโยคจะมี"คำช่วย"กำกับอยู่เพื่อบ่งบอกหน้าที่ของคำที่นำ หน้า

โครงสร้างประโยคพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่นประกอบด้วย หัวเรื่อง และส่วนอธิบาย ตัวอย่างเช่น Kochira-wa Tanaka-san desu (こちらは田中さんです) kochira แปลว่า "นี้" เป็นหัวเรื่องของประโยคเพราะมี wa กำกับอยู่ ส่วน Tanaka-san desu เป็นส่วนอธิบายของประโยค desu เป็นกริยาของประโยคที่แปลได้ว่า"เป็น" ประโยคนี้แปลคร่าวๆได้ว่า "สำหรับคนนี้ เขาคือคุณทานากะ" ภาษาญี่ปุ่นมีความคล้ายกับภาษาในเอเชียหลายๆภาษาที่มักจะระบุหัวเรื่องของ ประโยคแยกจากประธาน กล่าวคือหัวเรื่องของประโยคไม่จำเป็นต้องเป็นประธานของประโยค ตัวอย่างเช่น Zō-wa hana-ga nagai desu (象は鼻が長いです) แปลตามตัวได้ว่า "สำหรับช้าง จมูก(ของพวกมัน)ยาว" หัวเรื่องของประโยคคือ zō (ช้าง) ในขณะที่ประธานของประโยคคือ hana (จมูก)

ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาที่ชอบละคำ กล่าวคือ มักจะมีการละประธานหรือกรรมของประโยคที่เป็นที่รู้กันกันอยู่แล้ว นอกจากนี้ ชาวญี่ปุ่นยังรู้สึกว่าประโยคที่สั้นๆดีกว่าประโยคยาวๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ภาษาพูด ดังนั้นชาวญี่ปุ่นจึงมักจะละคำต่างๆในประโยคมากกว่าจะอ้างถึงมันด้วยคำ สรรพนาม ตัวอย่างเช่น จากประโยคข้างบน hana-ga nagai ก็แปลได้ว่า "จมูก[ของช้าง]ยาว" โดยที่ไม่ต้องระบุหัวเรื่องของประโยคหากเป็นที่เข้าใจตรงกันว่ากำลังกล่าว ถึงช้าง นอกจากนี้ กริยาเพียงตัวเดียวก็ถือว่าเป็นประโยคที่สมบูรณ์ได้ เช่น Yatta! แปลว่า "[ฉัน]ทำ[มันสำเร็จแล้ว]" คำคุณศัพท์เพียงตัวเดียวก็ถือว่าเป็นประโยคที่สมบูรณ์ได้เช่นกัน เช่น Urayamashii! แปลว่า "[ฉันรู้สึก]อิจฉา[มัน]"

แม้ว่าภาษาญี่ปุ่นจะมีคำบางคำที่ถือได้ว่าเป็นคำสรรพนาม แต่คนญี่ปุ่นก็ไม่ใช้คำสรรพนามบ่อยเท่ากับภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียน ในทางกลับกัน คนญี่ปุ่นมักจะใช้กริยาพิเศษหรือกริยาช่วยเพื่อบ่งบอกทิศทางของการกระทำ เช่น "ล่าง"เพื่อบ่งบอกว่าการกระทำนี้เป็นการกระทำจากนอกกลุ่มที่เป็นผลประโยชน์ ต่อในกลุ่ม และใช้คำว่า"บน"เพื่อบ่งบอกว่าเป็นการกระทำจากภายในกลุ่มที่เป็นประโยชน์ต่อ นอกกลุ่ม ตัวอย่างเช่น oshiete moratta แปลว่า "[เขา/พวกเขา]อธิบายให้[ฉัน/พวกเรา]" ขณะที่ oshiete ageta แปลว่า "[ฉัน/พวกเรา]อธิบายให้[เขา/พวกเขา]" การใช้กริยาช่วยในลักษณะนี้ทำให้รู้ผู้กระทำและผู้ถูกกระทำได้เหมือนกับการ ใช้คำสรรพนามและคำบุพบทในภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียน

คำสรรพนามในภาษาญี่ปุ่นมีลักษณะคล้ายคลึงกับคำนาม กล่าวคือ เราสามารถใช้คำขยายมาขยายคำสรรพนามได้ ซึ่งแตกต่างจากคำสรรพนามในภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียนที่ไม่สามารถกระทำได้ เช่น

The amazed he ran down the street. (เขาที่กำลังงงวิ่งไปตามถนน)
ประโยคข้างบนนี้ไม่ต้องถูกตามหลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ แต่ถือว่าถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น

Odoroita kare-wa michi-o hashitte itta.
สาเหตุที่คำสรรพนามในภาษาญี่ปุ่นคล้ายคลึงกับคำนาม ส่วนหนึ่งเป็นเพราะคำสรรพนามบางคำมีต้นกำเนิดมาจากคำนาม เช่น kimi ที่แปลว่า "คุณ" แต่เดิมแปลว่า "เจ้านาย" และ boku ที่แปลว่า "ผม" แต่เดิมแปลว่า "ข้ารับใช้" ดังนั้น นักภาษาศาสตร์บางคนจึงไม่จัดว่าคำสรรพนามในภาษาญี่ปุ่นเป็นคำสรรพนามที่แท้ จริง แต่เป็นคำนามที่ใช้อ้างอิง คนญี่ปุ่นจะใช้คำเรียกตัวเองในกรณีที่ต้องบอกว่าใครกำลังทำอะไรให้ใครเท่า นั้น

คำสรรพนามที่ใช้เรียกตัวเองขึ้นอยู่กับเพศของผู้พูดและสถานการณ์ในขณะ นั้น ในสถานการณ์ที่เป็นทางการ ผู้หญิงและผู้ชายสามารถใช้ watashi หรือ watakushi ได้ ส่วนในสถานการณ์ที่เป็นกันเอง ผู้ชายมักเรียกตัวเองว่า ore คำสรรพนามที่ใช้เรียกผู้ฟังนั้นขึ้นอยู่กับสถานภาพทางสังคมและความคุ้นเคย ระหว่างผู้พูดกับผู้ฟัง คำบางคำอาจเป็นคำที่สุภาพในสถานการณ์หนึ่ง แต่อาจไม่สุภาพในอีกสถานการณ์หนึ่งก็ได้

ชาวญี่ปุ่นมักเรียกบุคคลด้วยตำแหน่งหน้าที่แทนการใช้สรรพนาม ตัวอย่าง เช่น นักเรียนเรียกอาจารย์ว่า sensei (先生, อาจารย์) ไม่ใช่ anata ซึ่งถือว่าไม่เหมาะสมเพราะคำว่า anata ใช้เรียกบุคคลที่มีสถานภาพเท่ากันหรือต่ำกว่าเท่านั้น

ชาวต่างชาติที่พูดภาษาญี่ปุุ่นมักขึ้นต้นประโยคด้วยคำว่า watashi-wa แม้ว่าประโยคนี้จะถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ แต่ก็ฟังดูแปลกมากสำหรับชาวญี่ปุ่น เปรียบเทียบเหมือนกับการใช้คำนามซ้ำๆในภาษาไทย เช่น "สมชายกำลังมา กรุณาทำข้าวผัดให้สมชายเพราะสมชายชอบข้าวผัด ฉันว่าหวังสมชายจะชอบชุดที่ฉันใส่อยู่ ..."

ภาษาเกาหลี 한국어/조선어

ภาษาเกาหลี (한국어/조선어, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนพูดโดยทั่วไปในสาธารณรัฐประชาชนจีน (ในจังหวัดหยันเปียน มณฑลจื๋อหลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลี) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็วๆ นี้ก็มีผู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ใน ภาษาตระกูลอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา (SOV)

อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อม

อักษรเกาหลี เรียกว่า อักษรฮันกึล โดยผิวเผินแล้ว อักษรฮันกึลคล้ายกับอักษรรูปภาพเหมือนอักษรจีน แต่จริงๆ แล้ว อักษรฮันกึลอยู่ในระบบอักษรแทนเสียง (ตัวพยัญชนะเป็นอักษรรูปภาพเลียนแบบอวัยวะการออกเสียงในขณะที่ออกเสียงนั้นๆ สระเป็นอักษรรูปภาพใช้แนวคิดเชิงปรัชญา เกี่ยวกับ ท้องฟ้า พื้นดิน และมนุษย์)คือประกอบด้วยพยัญชนะและสระ ซึ่งมีทั้งหมด 24 ตัว ประกอบด้วย

-พยัญชนะ 14 ตัว คือ ㄱ ㄴ ㄷ ㄹ ㅁ ㅂ ㅅ ㅇ ㅈ ㅊ ㅋ ㅌ ㅍ และ ㅎ
-สระ 10 ตัว คือ ㅏ ㅑ ㅓ ㅕ ㅗ ㅛ ㅜ ㅠ ㅡและ ㅣ
พยัญชนะและสระดังกล่าวเรียกว่า พยัญชนะเดี่ยว และสระเดี่ยว ตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีส่วนที่เรียกว่าพยัญชนะซ้ำ และสระประสมด้วย คือ

-พยัญชนะซ้ำ 5 ตัว ได้แก่ ㄲ ㄸ ㅃ ㅆ และ ㅉ
-สระประสม 11 ตัว ได้แก่ ㅐ ㅒ ㅔ ㅖ ㅚ ㅟ ㅘ ㅙ ㅝ ㅞ และ ㅢ
อักษรเกาหลีมีลำดับการเขียนคล้ายอักษรจีน คือ ลากจากบนลงล่าง และจากซ้ายไปขวา นอกจากนี้การเขียนพยางค์หนึ่งๆ จะเริ่มเขียนจากพยัญชนะต้น ไปสระ และตัวสะกดตามลำดับ

คำสวัสดีปีใหม่ หลาย ๆ ภาษา

Afgani Saale Nao Mubbarak
Afrikaans Gelukkige nuwe jaar
Albanian Gezuar Vitin e Ri
Armenian Snorhavor Nor Tari
Arabic Antum salimoun
Assyrian Sheta Brikhta
Azeri Yeni Iliniz Mubarek!
Bengali Shuvo Nabo Barsho
Cambodian Soursdey Chhnam Tmei
Catalan FELIÇ ANY NOU
Chinese Xin Nian Kuai Le
Corsican Language Pace e Salute
Croatian Sretna Nova godina!
Cymraeg (Welsh) Blwyddyn Newydd Dda
Denish Godt Nytår
Dhivehi Ufaaveri Aa Aharakah Edhen
Dutch GELUKKIG NIEUWJAAR!
Eskimo Kiortame pivdluaritlo
Esperanto Felican Novan Jaron
Estonians Head uut aastat!
Ethiopian MELKAM ADDIS AMET YIHUNELIWO!
Finnish Onnellista Uutta Vuotta
French Bonne Annee
Gaelic Bliadhna mhath ur
Galician [NorthWestern Spain] Bo Nadal e Feliz Aninovo
German Prosit Neujahr
Greek Kenourios Chronos
Gujarati Nutan Varshbhinandan
Hawaiian Hauoli Makahiki Hou
Hebrew L'Shannah Tovah
Hindi Naye Varsha Ki Shubhkamanyen
Hong kong (Cantonese) Sun Leen Fai Lok
Hungarian Boldog Ooy Ayvet
Indonesian Selamat Tahun Baru
Iranian Saleh now mobarak
Iraqi Sanah Jadidah
Irish Bliain nua fe mhaise dhuit
Italian Felice anno nuovo
Japan Akimae Omedetto Gozaimasu
Kabyle Asegwas Amegaz
Kannada Hosa Varushadha Shubhashayagalu
Kisii SOMWAKA OMOYIA OMUYA
Khmer Sua Sdei tfnam tmei
Korea Saehae Bock Mani ba deu sei yo!
Kurdish NEWROZ PIROZBE
Lithuanian Laimingu Naujuju Metu
Laotian Sabai dee pee mai
Macedonian Srekjna Nova Godina
Madagascar Tratry ny taona
Malay Selamat Tahun Baru
Marathi Nveen Varshachy Shubhechcha
Malayalam Puthuvatsara Aashamsakal
Maltese Is-Sena t- Tajba
Nepal Nawa Barsha ko Shuvakamana
Norwegian Godt Nyttår
Papua New Guinea Nupela yia i go long yu
Pampango ( Philippines ) Masaganang Bayung Banua
Pashto Nawai Kall Mo Mubarak Shah
persian Saleh now ra tabrik migouyam
Philippines Manigong Bagong Taon
Polish Szczesliwego Nowego Roku
Portuguese Feliz Ano Novo
Punjabi Nave sal di mubarak
Romanian AN NOU FERICIT
Russian S Novim Godom
Samoa Manuia le Tausaga Fou
Serbo-Croatian Sretna nova godina
Sindhi Nayou Saal Mubbarak Hoje
Singhalese Subha Aluth Awrudhak Vewa
siraiki Nawan Saal Shala Mubarak Theevay
Slovak Stastny Novy rok
slovenian sreèno novo leto
Somali Iyo Sanad Cusub Oo Fiican!
Spanish Feliz Ano ~Nuevo
Swahili Heri Za Mwaka Mpyaº
Swedish GOTT NYTT ÅR! /Gott nytt år!
Sudanese Warsa Enggal
Tamil Eniya Puthandu Nalvazhthukkal
Telegu Noothana samvatsara shubhakankshalu
Thai Sawadee Pee Mai
Turkish Yeni Yiliniz Kutlu Olsun
Ukrainian Shchastlyvoho Novoho Roku
Urdu Naya Saal Mubbarak Ho
Uzbek Yangi Yil Bilan
Vietnamese Chuc Mung Tan Nien
Welsh Blwyddyn Newydd Dda!

หลักทั่วไปของภาษาอังกฤษ

1. สระ ให้ถอดตามการออกเสียงในพจนานุกรมภาษาอังกฤษ โดยเทียบเสียงสระภาษาไทยตามตารางเทียบเสียงสระภาษาอังกฤษ


2. พยัญชนะ ให้ถอดเป็นพยัญชนะภาษาไทยตามหลักเกณฑ์ในตารางเทียบพยัญชนะภาษาอังกฤษ

3. การใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต

3.1 พยัญชนะตัวที่ไม่ออกเสียงในภาษาไทย ให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับไว้ เช่น

horn = ฮอร์น
3.2 คำหรือพยางค์ที่ตัวสะกดมีพยัญชนะตามมาหลายตัว ให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาต ไว้บนพยัญชนะที่ไม่ออกเสียงตัวสุดท้าย แต่เพียงแห่งเดียว เช่น

Barents = แบเร็นตส์
3.3 คำหรือพยางค์ที่มีพยัญชนะไม่ออกเสียงอยู่หน้าตัวสะกด ที่ยังมีพยัญชนะตามหลังมาอีก ให้ตัดพยัญชนะที่อยู่หน้าตัวสะกดออก และใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตไว้บนพยัญชนะตัวสุดท้าย เช่น

world = เวิลด์ (ไม่ใช่ เวิร์ล)
4. การใช้ไม้ไต่คู้ ควรใช้ในกรณีต่อไปนี้

4.1 เพื่อให้เห็นแตกต่างจากคำไทย เช่น

log = ล็อก (ให้ต่างจากคำว่า ลอก ในภาษาไทย)
4.2 เพื่อช่วยให้ผู้อ่านแยกพยางค์ได้ถูกต้อง เช่น

Okhotsk = โอค็อตสก์
5. การใช้เครื่องหมายวรรณยุกต์ การเขียนคำทับศัพท์ ไม่ต้องใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์ ยกเว้นในกรณีที่คำนั้นมีเสียงซ้ำกับคำไทย จนทำให้เกิดความสับสน อาจใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์ได้ เช่น


coma = โคม่า (ไม่ใช่ โคมา (วัวมา))
6. พยัญชนะซ้อน (double letter) คำที่มีพยัญชนะซ้อนเป็นตัวสะกด ถ้าเป็นศัพท์ทั่วไป ให้ตัดออกตัวหนึ่ง เช่น


football = ฟุตบอล

แต่ถ้าเป็นศัพท์ทางวิชาการหรือวิสามานยนามให้เก็บไว้ทั้ง 2 ตัว โดยใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตไว้ที่ตัวท้าย เช่น


cell = เซลล์ (ไม่ใช่ เซล)

ถ้าพยัญชนะซ้อนอยู่กลางศัพท์ให้ถือว่า พยัญชนะซ้อนตัวแรกเป็นตัวสะกดของพยางค์หน้า และพยัญชนะซ้อนตัวหลัง เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ต่อไป เช่น


broccoli = บรอกโคลี
7. คำที่ตัวสะกดของพยางค์หน้าออกเสียงเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ตัวต่อไปด้วย ให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้

7.1 ถ้าสระของพยางค์หน้าเป็นเสียงสระอะ ซึ่งเมื่อทับศัพท์ต้องใช้รูปไม้หันอากาศ ให้ซ้อนพยัญชนะตัวสะกดของพยางค์หน้า เข้าอีกตัวหนึ่งเพื่อเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ต่อไป เช่น

double = ดับเบิล
7.2 ถ้าสระของพยางค์หน้าเป็นสระอื่นที่ไม่ใช่สระอะ ให้ทับศัพท์ตามรูปพยัญชนะภาษาอังกฤษโดยไม่ต้องซ้อนพยัญชนะ เช่น

California = แคลิฟอร์เนีย
7.3 ถ้าเป็นคำที่เกิดจากการเติมปัจจัย เช่น -er, -ing, -ic, -y และการทับศัพท์ตามรูปพยัญชนะภาษาอังกฤษดังข้อ 7.2 อาจทำให้ออกเสียงผิดไปจากภาษาเดิมมาก ให้ซ้อนพยัญชนะตัวสะกดของพยางค์ต้นอีกหนึ่งเพื่อให้เห็นเค้าคำเดิม เช่น

booking = บุกกิง
8. คำประสมที่มีเครื่องหมายยัติภังค์ (hyphen) ให้ทับศัพท์โดยเขียนติดต่อกันไป เช่น


Cross-stitch = ครอสสติตช์ (ไม่ใช่ ครอส-สติตช์)

ยกเว้นในกรณีที่เป็นศัพท์ทางวิชาการหรือวิสามานยนามให้คงไว้ เช่น


Cobalt-60 = โคบอลต์-60
9. คำประสมซึ่งในภาษาอังกฤษเขียนแยกกัน เมื่อทับศัพท์ให้เขียนติดกันไป ไม่ต้องแยกคำตามภาษาเดิม เช่น


night club = ไนต์คลับ
10. คำคุณศัพท์ที่มาจากคำนาม ซึ่งมีปัญหาว่าจะทับศัพท์ในรูปคำนามหรือคำคุณศัพท์นั้น ให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้

10.1 ถ้าคำคุณศัพท์นั้นมีความหมายเหมือนคำนาม หรือหมายความว่า "เป็นของ" หรือ "เป็นเรื่องของ" คำนามนั้น ให้ทับศัพท์ในรูปคำนาม เช่น

hyperbolic curve = ส่วนโค้งไฮเพอร์โบลา (ไม่ใช่ ส่วนโค้งไฮเพอร์โบลิก)
10.2 ถ้าคำคุณศัพท์นั้นมีความหมายว่า "เกี่ยวข้องกับ" หรือ "เกี่ยวเนื่องจาก" คำนามนั้น ให้ทับศัพท์ในรูปคำนามโดยใช้ คำประกอบ เชิง แบบ อย่าง ทาง ชนิด ระบบ ฯลฯ แล้วแต่ความหมาย เช่น

electronic power conversion = การแปลงผันกำลังเชิงอิเล็กทรอนิกส์
10.3 ในกรณีที่การทับศัพท์ในรูปคำนามตามข้อ 10.1 และข้อ 10.2 ทำให้เกิดความหมายกำกวมหรือคลาดเคลื่อน ให้ทับศัพท์ในรูปคำคุณศัพท์ เช่น

metric system = ระบบเมตริก (ไม่ใช่ ระบบเมตร)
11. คำคุณศัพท์ที่มาจากชื่อบุคคล ให้ทับศัพท์ตามชื่อของบุคคลนั้น ๆ โดยใช้คำประกอบ ของ แบบ ระบบ ฯลฯ แล้วแต่ความหมาย เช่น


Euclidean geometry = เรขาคณิตระบบยุคลิด

ยกเว้นในกรณีที่คำคุณศัพท์ที่มาจากชื่อบุคคล เป็นชื่อเฉพาะที่เป็นที่รู้จักกันทั่วไปในแต่ละวงการ ซึ่งอาจสังเกตได้จากการที่ในภาษาอังกฤษไม่ได้ใช้อักษรตัวใหญ่ขึ้นต้น ให้ทับศัพท์ในรูปคำคุณศัพท์

12. คำคุณศัพท์เกี่ยวกับชนชาติต่าง ๆ ให้ทับศัพท์ในรูปคำนามที่เป็นชื่อประเทศ เช่น


Swedish people = คนสวีเดน (ไม่ใช่ คนสวีดิช)

Hungarian dance = ระบำฮังการี (ไม่ใช่ ระบำฮังกาเรียน)

ยกเว้นชื่อที่เคยใช้มานานแล้ว ได้แก่ ...เยอรมัน ...กรีก ...ไอริช ...ดัตช์ ...สวิส ...อังกฤษ และ ...อเมริกัน เช่น เรือกรีก (ไม่ใช่ เรือกรีซ) รถอเมริกัน (ไม่ใช่ รถอเมริกา)

13. การวางตำแหน่งคำคุณศัพท์ในคำทับศัพท์ ให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้

13.1 คำคุณศัพท์ที่ประกอบคำนามที่เป็นภาษาไทย หรือเป็นคำทับศัพท์ แต่ได้ใช้ในภาษาไทยมาจนถือเป็นคำไทยแล้ว ให้วางคำคุณศัพท์ไว้หลังคำนาม เช่น

cosmic ray = รังสีคอสมิก
13.2 ถ้าทั้งคำคุณศัพท์และคำนามเป็นคำทับศัพท์ที่ยังไม่ถือเป็นคำไทย ให้ทับศัพท์ตรงตามศัพท์เดิม เช่น

Arctic Circle = อาร์กติกเซอร์เคิล (ไม่ใช่ วงกลมอาร์กติก)
13.3 ถ้าต้องการเน้นว่าคำนามนั้นเป็นสิ่งที่มีหลายชนิดและคำคุณศัพท์ที่ประกอบ เป็นชนิดหนึ่งของคำนามนั้น อาจทับศัพท์โดยใช้คำประกอบ แบบ ชนิด ระบบ ฯลฯ มาแทรกไว้ระหว่างคำนามกับคำคุณศัพท์ เช่น

normal matrix = เมทริกซ์แบบนอร์แมล
14. คำย่อ ให้เขียนชื่อตัวอักษรนั้น ๆ ลงเป็นภาษาไทย คำย่อให้เขียนติดกัน โดยไม่ใส่จุดและไม่เว้นวรรค เช่น


DDT = ดีดีที

F.B.I. = เอฟบีไอ
15. คำทับศัพท์ที่ผูกขึ้นจากตัวย่อ ซึ่งอ่านออกเสียงได้เสมือนคำคำหนึ่ง มิได้ออกเสียงเรียงตัวอักษร ให้เขียนตามเสียงที่ออกและไม่ต้องใส่จุด เช่น


UNESCO = ยูเนสโก
16. ตัวย่อชื่อบุคคล ให้เขียนโดยใส่จุด และเว้นช่องไฟระหว่างชื่อกับนามสกุล เช่น


D.N. Smith = ดี.เอ็น. สมิท

ภาษาลาว

ภาษาลาว

ภาษาลาว เป็นภาษาราชการของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไต และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ ภาษาอีสานของประเทศไทย ระบบการเขียนในภาษาลาว จะใช้อักษรลาว ซึ่งเป็นระบบ abugida (ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระที่จะอยู่ด้าน หน้า หลัง บน ล่าง ของพยัญชนะ) และสัมพันธ์ ใกล้ชิดกับ อักษรไทย

สำเนียงภาษาถิ่น

สำเนียงภาษาถิ่นของภาษาลาวสามารถแบ่งได้ 6 สำเนียงใหญ่ คือ:

ภาษาลาวเวียงจันทน์ (เวียงจันทน์ บอลิคำไซ)
ภาษาลาวเหนือ (หลวงพระบาง ไซยะบูลี อุดมไซ)
ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ (เซียงขวาง หัวพัน)
ภาษาลาวกลาง (คำม่วน สะหวันนะเขด)
ภาษาลาวใต้ (จำปาสัก สาละวัน เซกอง อัตตะปือ)
ภาษาลาวตะวันตก (ไม่มีใช้ในประเทศลาว ร้อยเอ็ด)

ทางการสปป.ลาวไม่ได้กำหนดให้สำเนียงถิ่นใดเป็นสำเนียงภาษากลาง แต่การใช้ภาษาลาวอย่างเป็นทางการ เช่น ทางโทรทัศน์ วิทยุ จะใช้สำเนียงเวียงจันทน์ ซึ่งเป็นสำเนียงของคนเมืองหลวง สามารถเข้าใจกันได้ทั่วประเทศ การเรียนภาษาลาวในประเทศลาวนั้น รัฐบาลลาวไม่ได้บังคับให้ใช้สำเนียงเวียงจันทน์ แต่ให้สามารถใช้สำเนียงท้องถิ่นต่างๆ ได้ แต่การเรียนภาษาลาวสำหรับชาวต่างประเทศ รัฐบาลลาวแนะนำให้ใช้สำเนียงเวียงจันทน์ ฉะนั้นประชาชนในประเทศลาวจึงพูด อ่าน ภาษาลาวเป็นสำเนียงท้องถิ่นของตน แต่ประชาชนก็สามารถฟังเข้าใจใด้ทุกสำเนียงทั่วประเทศ แม้จะพูดภาษาต่างสำเนียงกันก็ตาม

ภาษาลาวอีกสำเนียงหนึ่งที่ไม่มีในประเทศลาวคือ ภาษาลาวตะวันตก (ภาษาลาวร้อยเอ็ด) เป็นภาษาลาวท้องถิ่นที่ใช้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ภาษาอีสาน สำเนียงนี้ใช้พูดกันมากในแถบตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เช่น จังหวัดร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ อุดรธานี นครราชสีมา (อ.บัวใหญ่ สีดา สูงเนิน ชุมพวง บัวลาย แก้งสนามนาง ประทาย โนนแดง ปักธงชัย สีคิ้ว บางหมู่บ้าน) สุรินทร์ (อ.รัตนบุรี โนนนารายณ์) บุรีรัมย์ ( อ.พุทไธสง นาโพธิ์ บ้านใหม่ไชยพจน์ ลำปลายมาศ หนองหงส์ และบางหมู่บ้านของอำเภอสตึก โนนดินแดง โนนสุวรรณ หนองกี่ คูเมือง ประคำ และอำเภอเมืองบุรีรัมย์ )

ส่วนจังหวัดอื่นๆในภาคตะวันออกเฉียงเหนืองและบางจังหวัดในภาคเหนือของไทยจะใช้สำเนียงดังนี้

ภาษาลาวเหนือ จังหวัดที่พูดในประเทศไทย เช่น จ.เลย อุตรดิตถ์ (อ.บ้านโคก น้ำปาด ฟากท่า) เพชรบูรณ์ (อ.หล่มสัก หล่มเก่า น้ำหนาว) ขอนแก่น (อ.ภูผาม่าน และบางหมู่บ้านของ อ.สีชมพู ชุมแพ) ชัยภูมิ (อ.คอนสาร) พิษณุโลก (อ.ชาติตระการ และนครไทยบางหมู่บ้าน) หนองคาย (อ.สังคม) อุดรธานี (อ.น้ำโสม นายูง บางหมู่บ้าน)

ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ไม่ค่อยมีผู้พูดในประเทศไทย จังหวัดที่พูดในประเทศไทยส่วนใหญ่จะเป็นชุมชนลาวพวนที่อพยบมาจากแขวงเซียง ขวาง สปป.ลาว เช่น ที่บ้านเชียง อ.หนองหาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี และบางหมู่บ้าน ใน จ.สกลนคร หนองคาย และยังมีชุมชนลาวพวนในภาคเหนือบางแห่งในจังหวัด สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ ไม่กี่หมู่บ้านเท่านั้น

ภาษาลาวเวียงจันทน์ จังหวัดที่พูดในประเทศไทย เช่น จ.ชัยภูมิ หนองบัวลำภู หนองคาย (อ.เมือง ศรีเชียงใหม่ ท่าบ่อ โพนพิสัย) ขอนแก่น (อ.ภูเวียง ชุมแพ สีชมพู ภูผาม่าน หนองนาคำ เวียงเก่า หนองเรือบางหมู่บ้าน) ยโสธร (อ.เมือง ทรายมูล กุดชุม บางหมู่บ้าน) อุดรธานี (อ.บ้านผือ เพ็ญ บางหมู่บ้าน)

ภาษาลาวกลาง แยกออกเป็นสำเนียงถิ่น 2 สำเนียงใหญ่ คือ ภาษาลาวกลางถิ่นคำม่วน และถิ่นสะหวันนะเขด ถิ่นคำม่วน จังหวัดที่พูดในประเทศไทย เช่น จ.นครพนม สกลนคร หนองคาย (อ.เซกา บึงโขงหลง บางหมู่บ้าน) ถิ่นสะหวันนะเขด จังหวัดที่พูดมีจังหวัดเดียว คือ จ.มุกดาหาร
ภาษาลาวใต้ จังหวัดที่พูดในประเทศไทย จ.อุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร
แต่ในปัจจุบัน ภาษาลาวตะวันตกหรือภาษาอีสาน ในประเทศไทยไม่ได้รับการพัฒนาให้ใช้เป็นภาษาทางการ รัฐบาลไทยได้กำหนดให้ใช้ภาษาไทย เป็นภาษาทางการแทน จึงทำให้ภาษาลาวตะวันตกได้รับ อิทธิพลจากภาษาไทยค่อนข้างมาก และมีการใช้คำศัพท์ภาษาไทยปะปนค่อนข้างมาก รวมทั้งไม่มีการใช้ตัวอักษรภาษาลาวในการเขียนด้วย จึงทำให้ภาษาลาวตะวันตก ในปัจจุบันแตกต่างจากภาษาลาวในประเทศลาว ฉะนั้นจึงทำให้ประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยที่ไม่ได้เรียนภาษาลาว แบบ สปป.ลาว บางครั้งฟังภาษาลาวในแบบทางการ สปป.ลาวไม่เข้าใจโดยตลอด โดยจะเข้าใจแบบจับใจความรู้เรื่อง เท่านั้นแต่ไม่เข้าใจคำศัพท์ความหมายหรือประโยค ทุกคำทุกความหมายได้ เพราะคำศัพท์บางคำ สปป.ลาวบัญญัติขึ้นใหม่ ทำให้ภาษาขาดการติดต่อกัน และอาจถือได้ว่าภาษาลาวตะวันตกในประเทศไทยกับภาษาลาวในประเทศลาวเป็นคนละ ภาษาก็ได้ในปัจจุบัน

ส่วนในประเทศลาว นอกจากสำเนียงถิ่นใหญ่แล้วยังมีสำเนียงถิ่นย่อย แตกออกไปจากสำเนียงใหญ่ทั้ง 5 สำเนียง ออกไปอีกหลายสำเนียงย่อย เช่น ภาษาลาวใต้ถิ่นสาละวัน ภาษาลาวกลางถิ่นสะหวันนะเขด สำเนียงย่อยถิ่นเมืองอาดสะพังทอง ภาษาเวียงจันทน์ถิ่นเมืองปากงึม ฯลฯ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีผู้พูดภาษาลาวใต้ ถิ่นจำปาสัก ในจังหวัด พระวิหาร สตึงแตรง และรัตนคีรีของประเทศกัมพูชาด้วย

เสียงวรรณยุกต์

ภาษาลาวเวียงจันทน์มีระดับเสียงวรรณยุกต์ 6 ระดับ: Low (เอก) Mid (สามัญ) High (ตรี) Rising (จัตวา) High Falling (ใกล้เคียงกับโท) และ Low Falling (โท) ระดับเสียงจะแตกต่างกัน ไปตามชนพื้นเมืองของผู้พูดและที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เช่น ชาวหลวงพระบางจะใช้ ระดับ

เสียงวรรณยุกต์ 5 ระดับ คือ

กลางต่ำลงขึ้น
ต่ำขึ้น
กลางระดับ
สูงขึ้น
กลางขึ้น

ตัวอักษร

ภาษาลาวมีตัวอักษรที่ใช้เขียนอยู่สองแบบ คือ

อักษรลาว ใช้เขียนเรื่องคดีทางโลกทั่วไป ปัจจุบันรัฐบาลลาวได้ปรับปรุงอักษรลาวเดิมให้ใช้เป็นอักษรราชการ (ในภาคอีสานของไทยยังคงใช้อยู่บ้างในเอกสารโบราณ เรียกชื่อว่า อักษรไทน้อย)
อักษรธรรมลาว ใช้เขียนเรื่องคดีทางธรรม โหราศาตร์ ไสยศาสตร์ และตำราวิชาการบางประการ เช่น ตำรายา

ภาษาอังกฤษ

ภาษาอังกฤษ

ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาตระกูลเจอร์เมนิกตะวันตก มีต้นตระกูลมาจากอังกฤษ เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแรกมากที่สุดเป็นอันดับ 3 (พ.ศ. 2545: 402 ล้านคน) ภาษาอังกฤษถือเป็นภาษากลาง (lingua franca) เนื่องจากอิทธิพลทางทหาร เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ การเมือง และวัฒนธรรมของสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่นักศึกษาทุกคนจำเป็นต้องเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพราะว่าภาษาอังกฤษนั้นได้เข้ามามีบทบาทอย่างยิ่งต่อผู้คนในหลากหลายอาชีพ ซึ่งบางอาชีพต้องการผู้ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านภาษาอังกฤษมาช่วยประสานงาน ทำให้งานทุกอย่างนั้นง่ายราบรื่นและสำเร็จลงไปได้ด้วยดี

คำว่า อังกฤษ ในภาษาไทย มีที่มาจากคำอ่านของคำว่า Inggeris ในภาษามลายูที่ยืมมาจาก anglais (English) (/ɑ̃glɛ/ ฟังเสียง ) ในภาษาฝรั่งเศส

ภาษาอังกลิช/แองกลิช (Angles) เป็นภาษาโบราณซึ่งใช้กันในชนชาติแองโกลที่อพยพสู่เกาะบริเตน และเป็นหนึ่งในภาษาแบบฉบับของภาษาอังกฤษ เพราะฉะนั้น หากพูดถึงภาษาแองกลิชแล้ว ก็ต้องระวังเสียงพ้องกับคำว่า ภาษาอังกฤษ


การกระจายทางภูมิศาสตร์

ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ใช้มากเป็นอันดับ 3 หรือ 4 ของโลก รองลงมาจากภาษาจีน ภาษาฮินดี และใกล้เคียงกับภาษาสเปน

ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแรกในประเทศต่างๆ ต่อไปนี้ ออสเตรเลีย บาฮามาส บาร์บาดอส เบอร์มิวดา ยิบรอลตาร์ กายอานา จาไมกา นิวซีแลนด์ แอนติกาและบาร์บูดา เซนต์คิตส์และเนวิส ตรินิแดดและโตเบโก สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา

นอกจากนี้ยังมีฐานะเป็นภาษาราชการร่วมกับภาษาอื่นๆ ใน เบลีซ (ร่วมกับภาษาสเปน) แคนาดา (ร่วมกับภาษาฝรั่งเศส) โดมินิกา เซนต์ลูเซียและเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ (ร่วมกับภาษาครีโอลฝรั่งเศส) ไอร์แลนด์ (ร่วมกับภาษาไอริช) สิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษามาเลย์ ภาษาจีนกลาง ภาษาทมิฬ และภาษาเอเชียอื่นๆ) และแอฟริกาใต้ (ซึ่ง ภาษาซูลู ภาษาโคซา ภาษาแอฟริคานส์ และ ภาษาโซโทเหนือ มีคนพูดมากกว่า) และเป็นภาษาที่ไม่ใช่ภาษาราชการที่ใช้กันมากที่สุดในอิสราเอล

ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการที่ไม่ใช่ภาษาท้องถิ่นในแคเมอรูน ฟิจิ ไมโครนีเซีย กานา แกมเบีย ฮ่องกง (จีน) อินเดีย คิริบาส เลโซโท ไลบีเรีย เคนยา ประเทศนามิเบีย ไนจีเรีย มอลตา หมู่เกาะมาร์แชลล์ ปากีสถาน ปาปัวนิวกินี ฟิลิปปินส์ หมู่เกาะโซโลมอน ซามัว เซียร์ราลีโอน สวาซิแลนด์ แทนซาเนีย แซมเบีย และซิมบับเว

ในทวีปเอเชีย ประเทศที่เคยอยู่ภายใต้อาณานิคมของบริติชเช่น สิงคโปร์ และมาเลเซีย ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการโดยมีการเรียนการสอนในโรงเรียน ในฮ่องกงภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการร่วมกับภาษาจีนใช้ในการติดต่อธุรกิจ อย่างไรก็ตามในฮ่องกงมีคนจำนวนมากไม่รู้ภาษาอังกฤษ

อ้างอิงมากจาก wikipedia.org

Spanish ภาษาสเปน

ภาษาสเปน (Spanish, Castilian; Español, Castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ ที่มีคนพูดมากเป็นอันดับ 3 หรือ 4 ของโลก โดยที่มีคนพูดเป็นภาษาแรกประมาณ 352 ล้านคน และมากถึง 417 ล้านคน เมื่อรวมคนที่ไม่ได้พูดเป็นภาษาแรกด้วย (จากการประมาณเมื่อปี พ.ศ. 2542) ประชากรส่วนใหญ่ที่พูดภาษาสเปนจะอาศัยอยู่แถบลาตินอเมริกา

ชื่อภาษาและที่มา

ชาวสเปนมักเรียกภาษาของตนว่า ภาษาสเปน (español) เมื่อนำภาษานี้ไปเปรียบเทียบกับภาษาของชาติอื่น เช่น ภาษาฝรั่งเศสและภาษาอังกฤษ แต่จะเรียกว่า ภาษาคาสตีล (castellano) [= ภาษาของแคว้นคาสตีล] เมื่อนำไปเปรียบเทียบกับภาษาในประเทศสเปนภาษาอื่น ๆ (เช่น ภาษากาลิเซีย ภาษาบาสก์ และภาษาคาตาลัน) หรือแม้กระทั่งการนำไปเทียบกับบรรดาภาษาพื้นเมืองของประเทศในลาตินอเมริกา บางประเทศ ด้วยวิธีนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสเปน ค.ศ. 1978 จึงใช้คำว่า "ภาษาคาสตีล" (castellano) เพื่อนิยามภาษาราชการของประเทศ ซึ่งตรงข้ามกับ "ภาษาของสเปนภาษาอื่น ๆ" (las demás lenguas españolas) ตามมาตรา 3 ดังนี้

El castellano es la lengua española oficial del Estado. (…) Las demás lenguas españolas serán también oficiales en las respectivas Comunidades Autónomas…
ภาษาคาสตีลเป็นภาษาสเปนทางการของทั้งรัฐ (…) ภาษาสเปนภาษาอื่น ๆ จะมีสถานะทางการเช่นกันในแคว้นปกครองตนเองตามลำดับ (ต่อไปนี้…)
นักนิรุกติศาสตร์บางคนใช้ชื่อ "Castilian" เมื่อกล่าวถึงภาษาที่ใช้กันในภูมิภาคคาสตีลสมัยกลางเท่านั้น โดยเห็นว่า "Spanish" ควรนำมาใช้เรียกภาษานี้ในสมัยใหม่จะดีกว่า ภาษาถิ่นย่อยของภาษาสเปนที่พูดกันทางตอนเหนือของแคว้นคาสตีลในปัจจุบันเอง บางครั้งก็ยังเรียกว่า "Castilian" ภาษาถิ่นนี้แตกต่างจากภาษาถิ่นในภูมิภาคอื่น ๆ ของประเทศสเปน (เช่นในแคว้นอันดาลูเซียหรือกรุงมาดริดเป็นต้น) โดยในประเทศสเปนถือว่าเป็นภาษาเดียวกับภาษาสเปนมาตรฐานอย่างเป็นทางการ

อย่างไรก็ตาม คำ castellano ยังใช้กันเป็นวงกว้างเพื่อเรียกภาษาสเปนทั้งหมดในลาตินอเมริกา เนื่องจากผู้พูดภาษาสเปนบางคนจัดว่า castellano เป็นคำกลาง ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับการเมืองหรือลัทธิใด (เหมือนกับ "Spanish" ในฐานะคำหนึ่งของภาษาอังกฤษ) ชาวลาตินอเมริกาจึงมักใช้ตำนี้ในการแบ่งแยกความหลากหลายของภาษาสเปนในแบบของ พวกเขาว่า ไม่เหมือนกันกับความหลากหลายของภาษาสเปนที่ใช้กันในประเทศสเปนเอง

คำว่า español ที่ถูกนำมาเปลี่ยนแปลงรูปตามกฎทางไวยากรณ์และสัทวิทยา (การศึกษาเกี่ยวกับเสียงในภาษา) ของแต่ภาษาเพื่อใช้เรียกชาวสเปนและภาษาของพวกเขานั้น มีรากศัพท์มาจากคำในภาษาละตินว่า "ฮิสปานีโอลุส" (Hispaniolus) [= ชาวฮิสปาเนียน้อย] รูปคำดังกล่าวได้วิวัฒนาการมาเป็น Spaniolus (ในช่วงเวลานั้น ตัว H ในภาษาละตินจะหายไปในการสนทนาปกติ คำนี้จึงออกเสียงว่า "อิสปานีโอลู" [ispa'niolu]) และสระ [i] (ใช้ในภาษาพูดของละตินเพื่อความรื่นหู) ก็ถูกเปิดเป็นสระ [e] จึงทำให้คำนี้มีรูปเขียนอย่างที่เห็นในปัจจุบัน
ประวัติ

ภาษาสเปนพัฒนาขึ้นในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 8-9 โดยมีรากฐานจากภาษาละตินสามัญ (Vulgar Latin)[2] ที่ใช้สื่อสารกันในแถบภูเขากันตาเบรีย บริเวณจังหวัดกันตาเบรีย บูร์โกส และลารีโอคา ทางตอนเหนือของประเทศสเปนปัจจุบัน โดยได้รับอิทธิพลจากภาษาบาสก์และภาษาเคลติเบเรียน

ภาษาที่เกิดขึ้นนี้มีลักษณะเฉพาะทางสัทวิทยาที่เปลี่ยนแปลงไปจากภาษาละ ตินเดิม ได้แก่ การกลายเสียงพยัญชนะให้อ่อนลง (เช่น จาก vita ในภาษาละติน เป็น vida ในภาษาสเปน) การทำให้เป็นเสียงเพดานแข็ง (เช่น จาก annum [-นน-] เป็น año [-นย-] และจาก anellum [-ลล-] เป็น anillo [-ลย-]) และการทำสระเดี่ยวให้กลายเป็นสระประสม (การเปลี่ยนต้นเค้าศัพท์) ของสระ e และ o (เช่น จาก terra เป็น tierra และจาก novus เป็น nuevo) ปรากฏการณ์ที่คล้ายคลึงกันนี้สามารถพบได้ในประวัติของภาษากลุ่มโรมานซ์ภาษา อื่นเช่นกัน โดยเฉพาะหลังจากที่จักรวรรดิโรมันล่มสลายลงในคริสต์ศตวรรษที่ 4 ซึ่งได้ลดการติดต่อทางวัฒนธรรมระหว่างดินแดนต่าง ๆ กับกรุงโรมลงด้วย

ในช่วงการพิชิตดินแดนคืนจากพวกมุสลิม (Reconquista เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 7) ภาษาท้องถิ่นทางเหนือภาษานี้ก็ถูกนำลงมาทางใต้ โดยเข้าไปแทนที่หรือส่งอิทธิพลต่อภาษาในท้องถิ่นต่าง ๆ ซึ่งในขณะเดียวกันก็ได้ยืมศัพท์เป็นจำนวนมากจากภาษาอาหรับของพวกมัวร์ (ชาวมุสลิมที่เคยปกครองคาบสมุทรไอบีเรีย) รวมทั้งรับอิทธิพลจากภาษาของชาวคริสต์และชาวยิวที่เคยอยู่ภายใต้การปกครอง ของพวกมัวร์ด้วย (แต่ภาษาเหล่านี้ได้สูญไปจากคาบสมุทรไอบีเรียตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16)

ก้าวแรกของการทำให้ภาษาเขียนมีความเป็นมาตรฐานนั้นเริ่มต้นในคริสต์ ศตวรรษที่ 13 โดยพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 10 (พระเจ้าอัลฟอนโซนักปราชญ์) พระองค์ทรงรวบรวมนักเขียนและปราชญ์จากที่ต่าง ๆ มาประชุมกันในราชสำนัก และทรงอำนวยการตรวจตรางานเขียนของปราชญ์เหล่านั้นซึ่งมักเป็นเรื่องเกี่ยว กับประวัติศาสตร์ ดาราศาสตร์ และกฎหมาย ต่อมาในปี ค.ศ. 1492 เอเลียว อันโตเนียว เด เนบรีคา (Elio Antonio de Nebrija) ก็ได้แต่งตำราไวยากรณ์ภาษาสเปนขึ้นที่เมืองซาลามังกา มีชื่อว่า Gramática de la Lengua Castellana ซึ่งถือเป็นตำราไวยากรณ์ภาษาแรกของกลุ่มโรมานซ์ด้วย

ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ภาษาสเปนก็ได้ถูกนำเข้าสู่ดินแดนทวีปอเมริกาและสแปนิชอีสต์อินดีสโดยผ่านนัก สำรวจและนักล่าดินแดนเป็นอาณานิคม ภาษาสเปนกลายเป็นภาษาหลักทางศิลปะ การเมือง และการค้าของทวีปยุโรป (จนกระทั่งถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 ภาษาฝรั่งเศสจึงเข้ามามีอิทธิพลอย่างสูงแทน) และในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาสเปนก็ได้รับการแนะนำในประเทศอิเควทอเรียลกินี ดินแดนเวสเทิร์นสะฮารา และพื้นที่หลายแห่งในสหรัฐอเมริกาซึ่งไม่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิสเปน มาก่อนเลย เช่น ในย่านสแปนิชฮาร์เล็มของนครนิวยอร์ก
ลักษณะเฉพาะ

สิ่งหนึ่งที่บ่งชี้ลักษณะเฉพาะของภาษาสเปนคือ การทำให้สระสั้นของละตินอย่างสระเอ (e) และสระโอ (o) เป็นสระประสมสองเสียง (diphthong) คือ สระเอีย (ie) และสระอวย (ue) ตามลำดับ เมื่อสระเหล่านี้อยู่ในตำแหน่งที่ลงเสียงหนัก การกลายเสียงที่คล้ายกันนี้ยังสามารถพบได้ในภาษาโรมานซ์อื่น ๆ แต่ในภาษาสเปน ลักษณะเหล่านี้มีความสำคัญเป็นพิเศษ ดังตัวอย่าง:

ละติน petra > สเปน piedra, อิตาลี pietra, ฝรั่งเศส pierre, โปรตุเกส/กาลิเซีย pedra "ก้อนหิน"
ละติน moritur > สเปน muere, อิตาลี muore, ฝรั่งเศส meurt / muert, โรมาเนีย moare, โปรตุเกส/กาลิเซีย morre "เขาตาย"
ความประหลาดอีกอย่างหนึ่งของภาษาสเปนยุคแรก (เช่นใน ภาษาถิ่นกาสกองของอ็อกซิตัน) และเป็นไปได้ว่ามาจากภาษาบาสก์ซึ่งเป็นภาษาถิ่นเดิม คือการกลายจาก f- ที่อยู่ต้นคำ เป็น h- เมื่อ f- นี้ตามด้วยสระที่ไม่ประสมสองเสียง ดังตัวอย่าง

ละติน filium > อิตาลี figlio, โปรตุเกส filho, ฝรั่งเศส fils, อ็อกซิตัน filh (แต่ กาสกอง hilh) สเปน hijo (แต่ ลาดิโน fijo) "ลูกชาย"
ละตินช่วงหลัง *fabulare > ลาดิโน favlar, โปรตุเกส falar, สเปน hablar "พูด"
แต่ ละติน focum > อิตาลี fuoco, โปรตุเกส fogo, สเปน/ลาดิโน fuego "ไฟ"
พยัญชนะควบกล้ำบางตัวของละตินยังทำให้เกิดผลแตกต่างกันอย่างเป็นเอกลักษณ์ในภาษาเหล่านี้ ได้แก่

ละติน clamare flammam, plenum > ลาดิโน lyamar, flama, pleno; สเปน llamar, llama, lleno (แต่ภาษาสเปนก็มีรูป clamar, flama, pleno ด้วยเช่นกัน); โปรตุเกส chamar, chama, cheio
ละติน octo, noctem, multum > ลาดิโน ocho, noche, muncho; สเปน ocho, noche, mucho; โปรตุเกส oito, noite, muito

Top Languages of the World

Top Languages of the World

ภาษา ประเทศที่ใช้พูด จำนวนประชากรที่พูด
ภาษา (ล้าน)
1. Chinese, Mandarin ภาษาจีนกลาง Brunei, Cambodia, China, Indonesia, Malaysia, Mongolia, Philippines, Singapore, S. Africa, Taiwan, Thailand
บรูไนดารุสซาลาม, กัมพูชา, จีน, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, มองโกเลีย, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, แอฟริกาใต้, ไต้หวัน, ไทย
885.0
2. Spanish
ภาษาสเปน
Andorra, Argentina, Belize, Bolivia, Chile, Colombia, Costa Rica, Cuba, Dominican Rep., Ecuador, El Salvador, Eq. Guinea, Guatemala, Honduras, Mexico, Nicaragua, Panama, Paraguay, Peru, Spain, Uruguay, U.S., Venezuela
อันเดอร์รา, อาร์เจนตินา, เบลีซ, โบลิเวีย, ชิลี, โคลัมเบีย, คอสตาริกา, คิวบา, สาธารณรัฐโดมินิกัน, เอกวาดอร์, เอลซัลวาดอร์, อิเควทอเรียลกินี, กัวเตมาลา, ฮอนดูรัส, เม็กซิโก, นิการากัว, ปานามา, ปารากวัย, เปรู, สเปน, อุรุกวัย, สหรัฐอเมริกา, เวเนซุเอลา
332.0
3. English
ภาษาอังกฤษ
Australia, Botswana, Brunei, Cameroon, Canada, Eritrea, Ethiopia, Fiji, The Gambia, Guyana, Ireland, Israel, Lesotho, Liberia, Malaysia, Micronesia, Namibia, Nauru, New Zealand, Palau, Papua New Guinea, Samoa, Seychelles, Sierra Leone, Singapore, Solomon Islands, Somalia, S. Africa, Suriname, Swaziland, Tonga, U.K., U.S., Vanuatu, Zimbabwe, many Caribbean states
ออสเตรเลีย, บอตสวานา, บรูไนดารุสซาลาม, แคเมอรูน, แคนาดา, เอริเทรีย, เอธิโอเปีย, ฟิจิ, แกมเบีย, กายอานา, ไอร์แลนด์, อิสราเอล, เลโซโท, ไลบีเรีย, มาเลเซีย, ไมโครนีเซีย, นามิเบีย, นาอูรู, นิวซีแลนด์, ปาลัว, ปาปัวนิวกินี, ซามัว, เซเชลส์, เซียร์ราลีโอน, สิงคโปร์, โซโลมอน, โซมาเลีย, แอฟริกาใต้, ซูรินัม, สวาซิแลนด์, ตองกา, สหราชอาณาจักร, สหรัฐอเมริกา, วานูอาตู, ซิมบับเว และอีกหลายประเทศแถบทะเลแคริบเบียน
322.0
4. Bengali
ภาษาเบงคลี
Bangladesh, India, Singapore
บังคลาเทศ, อินเดีย, สิงคโปร์
189.0
5. Hindi
ภาษาฮีน-ดิ
India, Nepal, Singapore, S. Africa, Uganda
อินเดีย, เนปาล, สิงคโปร์, แอฟริกาใต้, ยูกันดา
182.0
6. Portuguese
ภาษาโปรตุเกส
Brazil, Cape Verde, France, Guinea-Bissau, Portugal
บราซิล, เคปเวิร์ด, ฝรั่งเศส, กินีบิสเซา, โปรตุเกส
170.0
7. Russian
ภาษารุสเซีย
China, Israel, Mongolia, Russia, U.S.
จีน, อิสราเอล, มองโกเลีย, รัสเซีย, สหรัฐอเมริกา
170.0
8. Japanese
ภาษาญี่ปุ่น
Japan, Singapore, Taiwan
ญี่ปุ่น, สิงคโปร์, ไต้หวัน
125.0
9. German, Standard
ภาษาเยอรมัน
Austria, Belgium, Bolivia, Czech Rep., Denmark, Germany, Hungary, Italy, Kazakhstan, Liechtenstein, Luxembourg, Paraguay, Poland, Romania, Slovenia, Switzerland
ออสเตรีย, เบลเยียม, โบลิเวีย, สาธารณรัฐเช็ก, เดนมาร์ก, เยอรมนี, ฮังการี, อิตาลี, คาซัคสถาน, ลิกเตนสไตน์, ลักเซมเบิร์ก,ปารากวัย, โปแลนด์, โรมาเนีย, สโลวีเนีย, สวิตเซอร์แลนด์
98.0
10. Chinese, Wu
ภาษาจีน
China
จีน
77.2
11. Javanese
ภาษาชวา
Indonesia, Malaysia, Singapore
อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, สิงคโปร์
75.5
12. Korean
ภาษาเกาหลี
China, Japan, N. Korea, S. Korea, Singapore, Thailand
จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลีเหนือ, เกาหลีใต้, สิงคโปร์, ไทย
75.0
13. French
ภาษาฝรั่งเศส
Andorra, Belgium, Burkina Faso, Burundi, Cameroon, Canada, Comoros, Congo, Congo (Dem. Rep. of), Djibouti, France, Gabon, Guinea, Haiti, Luxembourg, Mauritania, Monaco, Rwanda, Senegal, Seychelles, Switzerland, Vanuatu
อันเดอร์รา, เบลเยียม, บูร์กินาฟาโซ, บุรุนดี, แคเมอรูน, แคนาดา, คอโมโรส, คองโก, จิบูตี, ฝรั่งเศส, กาบอง,
กินี, เฮติ, ลักเซมเบิร์ก, มัวลิทาเนีย, โมนาโค, รวันดา, เซเนกัล, เซเชลส์, สวิตเซอร์แลนด์, วานูอาตู
72.0
14. Vietnamese
ภาษาเวียดนาม
China, Vietnam
จีน, เวียดนาม
67.7
15. Telugu India, Singapore
อินเดีย, สิงคโปร์
66.4
16. Chinese, Yue(Cantonese)
ภาษาจีนกวางตุ้ง
Brunei, China, Costa Rica, Indonesia, Malaysia, Panama, Philippines, Singapore, Thailand, Vietnam
บรูไนดารุสซาลาม, จีน, คอสตาริกา, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ปานามา, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, ไทย, เวียดนาม
66.0
17. Marathi India
อินเดีย
64.8
18. Tamil
ภาษาทมิฬ
India, Malaysia, Mauritius, Singapore, S. Africa, Sri Lanka
อินเดีย, มาเลเซีย, มอริเชียส, สิงคโปร์, แอฟริกาใต้, ศรีลังกา
63.1
19. Turkish
ภาษาตุรกี
Bulgaria, Cyprus, Greece, Macedonia, Romania, Turkey, Uzbekistan
บัลแกเรีย, ไซปรัส, กรีซ, มาซิโดเนีย, โรมาเนีย, ตุรกี, อุซเบกิสถาน
59.0
20. Urdu
ภาษาฮินดูสตานี
Afghanistan, India, Mauritius, Pakistan, S. Africa, Thailand
อัฟกานิสถาน, อินเดีย, มอริเชียส, ปากีสถาน, แอฟริกาใต้, ไทย
58.0
21. Chinese, Min Nan Brunei, China, Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore, Taiwan, Thailand
บรูไนดารุสซาลาม, จีน, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, ไต้หวัน, ไทย
49.0
22. Chinese, Jinyu China
จีน
45.0
23. Gujarati India, Kenya, Pakistan, Singapore, S. Africa, Tanzania, Uganda, Zambia, Zimbabwe
อินเดีย, เคนยา, ปากีสถาน, สิงคโปร์, แอฟริกาใต้, แทนซาเนีย, ยูกันดา, แซมเบีย, ซิมบับเว
44.0
24. Polish
ภาษาโปแลนด์
Czech Rep, Germany, Israel, Poland, Romania, Slovakia
สาธารณรัฐเช็ก, เยอรมนี, อิสราเอล, โปแลนด์, โรมาเนีย, สโลวะเกีย
44.0
25. Arabic, Egyptian
ภาษาอียิปต์
Egypt
อียิปต์
42.5
26. Ukrainian
ภาษายูเครน
Poland, Slovakia, Ukraine
โปแลนด์, สโลวะเกีย, ยูเครน
41.0
27. Italian
ภาษาอิตาลี
Croatia, Eritrea, France, Italy, San Marino, Slovenia, Switzerland
โครเอเชีย, เอริเชีย, ฝรั่งเศส, อิตาลี, ซานมารีโน, สโลวีเนีย, สวิตเซอร์แลนด์
37.0
28. Chinese, Xiang China
จีน
36.0
29. Malayalam
ภาษาแมละยา-ลัม
India, Singapore
อินเดีย, สิงคโปร์
34.0
30. Chinese, Hakka
ภาษาจีนฮักคะ
Brunei, China, Indonesia, Malaysia, Panama, Singapore, Suriname, Taiwan, Thailand
บรูไนดารุสซาลาม, จีน, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ปานามา, สิงคโปร์, ซูรินัม, ไต้หวัน, ไทย
34.0
31. Kannada India
อินเดีย
33.7
32. Oriya India
อินเดีย
31.0
33. Panjabi,Western
ภาษาของชาวปันจาบทางตะวันตก
India, Pakistan
อินเดีย, ปากีสถาน
30.0
34. Sunda
ภาษาซันดะ
Indonesia
อินโดนีเซีย
27.0
35. Panjabi, Eastern
ภาษาของชาวปันจาบทางตะวันออก
India, Kenya, Singapore
อินเดีย, เคนยา, สิงคโปร์
26.0
36. Romanian
ภาษาโรเมเนีย
Hungary, Israel, Moldova, Romania, Serbia and Montenegro, Ukraine
ฮังการี, อิสราเอล, มอลโดวา, โรมาเนีย, เซอร์เบียแอนด์มอนเตเนโกร, ยูเครน
26.0
37. Bhojpuri India, Mauritius, Nepal
อินเดีย, มอริเชียส, เนปาล
25.0
38. Azerbaijani, South
ภาษาอาร์เซอร์ไบจัน
Afghanistan, Iran, Iraq, Syria, Turkey
อัฟกานิสถาน, อิหร่าน, อิรัก, ซีเรีย, ตุรกี
24.4
39. Farsi, Western Iran, Iraq, Oman, Qatar, Tajikistan, United Arab Emirates
อิหร่าน, อิรัก, โอมาน, กาตาร์, ทาจิกิสถาน, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
24.3
40. Maithili India, Nepal
อินเดีย, เนปาล
24.3
41. Hausa Benin, Burkina Faso, Cameroon, Ghana, Niger, Nigeria, Sudan, Togo
เบนิน, บูร์กินาฟาโซ, แคเมอรูน, กาน่า, ไนเจอร์, ไนจีเรีย, ซูดาน, โตโก
24.2
42. Arabic, Algerian
ภาษาอาหรับของชาวแอลจีเรีย
Algeria
แอลจีเรีย
22.4
43. Burmese
ภาษาพม่า
Bangladesh, Myanmar
บังคลาเทศ, พม่า
22.0
44. Serbo-Croatian Bosnia and Herzegovina, Croatia, Macedonia, Serbia and Montenegro, Slovakia
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, โครเอเชีย, มาซิโดเนีย, เซอร์เบียแอนด์มอนเตเนโกร, สโลวะเกีย
21.0
45. Chinese, Gan China
จีน
20.6
46. Awadhi India, Nepal
อินเดีย, เนปาล
20.5
47. Standard Thai
ภาษาไทย
Singapore, Thailand
สิงคโปร์, ไทย
20.0
48. Dutch
ภาษาฮอลันดา
Belgium, France, Netherlands, Suriname
เบลเยียม, ฝรั่งเศส, เนเธอร์แลนด์, ซูรินัม
20.0
49. Yoruba Benin, Nigeria
เบนิน, ไนจีเรีย
20.0
50. Sindhi Afghanistan, India, Pakistan, Singapore
อัฟกานิสถาน, อินเดีย,ปากีสถาน, สิงคโปร์
19.7

The population figures in this table refer to first language speakers in all countries.
Note that these figures are updated from the 13th Edition of the Ethnologue (1996).Part of the Ethnologue, 13th Edition, Barbara F. Grimes, Editor